Page 18 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 18

8   ชุดดินเชียงคาน (Chiang Khan  series: Ch)





                                  กลุมชุดดินที่   46
                                  การจําแนกดิน     Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiustults

                                  การกําเนิด       เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ    เชน
                                                   หินดินดาน หินทรายแปง หินโคลน หินชนวน หินฟลไลท เปนตน บริเวณพื้นที่

                                                   ภูเขา  และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ
                                                   โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา

                                  สภาพพื้นที่      ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 4-20 %

                                  การระบายน้ํา                   ดี
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ปานกลางถึงเร็ว

                                  การซึมผานไดของน้ํา           ปานกลาง

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน       ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว
                                                   และใชเปนวัสดุทําถนน

                                  การแพรกระจาย        พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศ
                                  การจัดเรียงชั้นดิน   Ap(A)-Btc

                                  ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นลูกรังหนาแนน  ภายใน 50 ซม.  จากผิวดิน
                                  ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียวปนลูกรัง  สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม  ปฏิกิริยา

               ดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)  ดินลางเปนดินเหนียวปนลูกรังหนาแนนมาก  สีแดงหรือสีแดงปนเหลือง

               ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) พบจุดประสีน้ําตาล เหลืองหรือแดงในชั้นหินที่ผุพังสลายตัว ลูกรังใน

               ชุดดินเชียงคานสวนใหญเปนเศษหินที่ถูกเคลือบดวยสารประกอบออกไซดของเหล็กที่เรียกวาลูกรังเทียม (pseudo-laterite)

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25          ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา
                  25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินคลองชาก

               ขอจํากัดการใชประโยชน       เปนดินตื้นถึงชั้นลูกรังหนาแนนและความอุดมสมบูรณต่ํา  พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง
               ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงาย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก (ไมเกิน 12%) และดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไร

               ได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดิน
               และเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี  พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก  ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟู

               สภาพปา


                                                                                                              10
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23