Page 20 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 20
10 ชุดดินเชียงราย (Chiang Rai series: Cr)
กลุมชุดดินที่ 6
การจําแนกดิน Fine, kaolinitic, isohyperthermic Plinthic Paleaquults (Kandiaquults)
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ําและที่ราบระหวางเขา
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %
การระบายน้ํา เลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ชา
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพด
ถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาว
การแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบน
การจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btg-Btgv
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปน
ทรายแปง สีน้ําตาลปนเทาถึงสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีแดงปนเหลือง
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว สีเทาออน มีจุดประ
สีแดงหรือสีแดงปนเหลือง และมีศิลาแลงออนสีแดง 5-50 %โดยปริมาตร อาจพบกอนลูกรังปะปน
อยูบาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินพาน ชุดดินนครพนม ชุดดินมโนรมย และชุดดินชุมแสง
ขอจํากัดการใชประโยชน ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา มีอินทรียวัตถุต่ํา และแนนทึบ
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต
ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผักซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น
โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ
12