Page 13 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 13
3 ชุดดินบอไทย (Bo Thai series: Bo)
กลุมชุดดินที่ 37
การจําแนกดิน Coarse-loamy, kaolinitic, isohyperthermic Typic Eutrustox
การกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทราย บางแหงอาจมีปูนปน บริเวณพื้นที่ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุ
ดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็ว
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออย มันสําปะหลัง และไมผล
การแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ
การจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-(E)-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกปานกลาง ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนถึงดินรวนปน
ทราย สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนปน
ทรายถึงดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาลแกถึงสีแดงปนเหลือง พบชั้นลูกรังปะปนในดินชวงความลึก 50-100 ซม. ปฏิกิริยา
ดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินโพนงาม
ขอจํากัดการใชประโยชน เนื้อดินคอนขางเปนทรายและมีความอุดมสมบูรณต่ํา สภาพพื้นที่มีความลาดชัน
ดินเกิดการชะลางพังทลายไดงาย
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ ปุยอินทรีย หรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมี
จัดระบบอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสม
5