Page 19 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 19
9 ชุดดินเชียงใหม (Chiang Mai series: Cm)
กลุมชุดดินที่ 38
การจําแนกดิน Coarse-loamy, mixed, superactive, nonacid, isohyperthermic
Oxyaquic Ustifluvents
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสันดินริมน้ํา
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 0-3 %
การระบายน้ํา ดีปานกลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ไมผล พืชไร พืชผัก และที่อยูอาศัย
การแพรกระจาย พบมากในภาคเหนือ
การจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)–C
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ที่มีการสลับชั้นของเนื้อดินตางๆ เนื่องจากการทับถม
เปนประจํา ของตะกอนน้ําพา เมื่อมีน้ําทวมลนฝง ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทรายแปงหรือ
ดินรวนปนทราย สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH
6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวน ปนทราย หรือดินรวนปนทรายแปง สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง
หรือสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 6.0-6.5) ปกติจะพบ
เกล็ดไมกาตลอดชั้น
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินทามวง และชุดดินสรรพยา
ขอจํากัดการใชประโยชน อาจมีน้ําทวมบาและแชขังระดับสูงในฤดูฝน
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน หลีกเลี่ยงการปลูกในชวงกลางฤดูฝนที่มีฝนตกหนักมาก ในพื้นที่ชลประทานและไม
มีปญหาน้ําทวมบาหรือแชขัง อาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี
เพื่อเพิ่มผลผลิต
11