Page 11 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 11

1   ชุดดินบางมูลนาก (Bang Mun Nak series: Ban)





                                  กลุมชุดดินที่   4
                                  การจําแนกดิน     Very-fine, mixed, semiactive, nonacid, isohyperthermic Aeric

                                                   Endoaquepts
                                  การกําเนิด       เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณที่ราบน้ําทวม

                                  สภาพพื้นที่      ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-1 %

                                  การระบายน้ํา                   คอนขางเลว
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชา

                                  การซึมผานไดของน้ํา           ชา
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน       นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพด

                                                   ถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาว

                                  การแพรกระจาย           พบมากในพื้นที่ภาคเหนือ บริเวณลําน้ํานาน
                                  การจัดเรียงชั้นดิน      Apg-Bwg

                                  ลักษณะและสมบัติดิน      เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง  สี
                                  น้ําตาลเขม สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH4.5-5.5)  ดิน

                                  ลางตอนบนเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH 5.5-7.0) ดิน
                                  ลางตอนลาง เปนสีน้ําตาลปนเทา สีเทาปนแดง หรือสีน้ําตาลปนเทาออน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด

               มากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) มีจุดประสีน้ําตาลแก สีแดงปนเหลือง หรือสีแดงตลอดชั้นดิน


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง        ปานกลาง        ปานกลาง          สูง           สูง         ปานกลาง

                  25-50         ต่ํา          สูง          ปานกลาง         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา          สูง          ปานกลาง         ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินพิมาย  และชุดดินราชบุรี

               ขอจํากัดการใชประโยชน             อาจมีน้ําทวมบาและแชขังระดับสูงในฤดูฝน ทําใหขาวเสียหายได
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน          หลีกเลี่ยงการปลูกในชวงกลางฤดูฝนที่มีฝนตกหนักมาก  ในพื้นที่ชลประทาน

               และไมมีปญหาน้ําทวมบาหรือแชขัง อาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดี
               ขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ












                                                                                                               3
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16