Page 14 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 14

4   ชุดดินบานโภชน (Ban Phot  series: Bpo)



                                 กลุมชุดดินที่    1

                                 การจําแนกดิน      Very-fine, smectitic, isohyperthermic (Chromic) Ustic Epiaquerts
                                 การกําเนิด        เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณที่ราบน้ําทวม

                                 สภาพพื้นที่       ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-1 %
                                 การระบายน้ํา                    คอนขางเลว

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน        ชา

                                 การซึมผานไดของน้ํา            ชา
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ขาว และปลูกพืชไร หรือพืชผัก  กอนและหลังฤดูฝน

                                 การแพรกระจาย            พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                 การจัดเรียงชั้นดิน       Apg-Bssg-(Bwg)
                                 ลักษณะและสมบัติดิน       เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สี
                                 เทาเขมถึงสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึง

                                 เปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)  ดินลางเปนดินเหนียว  สีน้ําตาลปนเหลืองถึงสีน้ําตาลปนเทา  มีจุด

                                 ประสีน้ําตาลหรือปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนดางเล็กนอย (pH 5.5-7.5) ในฤดูแลงหรือฝนทิ้งชวง
                                 นานๆ ดินจะแหงและแข็ง แตกระแหงเปนรองลึก


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25       ปานกลาง          สูง          ปานกลาง       ปานกลาง           สูง         ปานกลาง
                  25-50         ต่ํา          สูง          ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินพิมาย  ชุดดินสระบุรี  และชุดดินศรีสงคราม

               ขอจํากัดการใชประโยชน       เนื้อดินเหนียวจัด เมื่อแหงจะแข็ง ยากตอการไถพรวน และแตกระแหง ทําใหรากพืช

               เสียหาย ดินเปยกจะเหนียวจัด ยากตอการไถพรวน
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปรับปรุงโครงสรางของดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ  เชน  การไถกลบเศษพืช  การใช

               ปุยคอก  ปุยหมัก  ไถพรวนในขณะที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ  ไมแหงและเปยกเกินไป  จัดหาแหลงน้ําสํารองไวใชเมื่อฝนทิ้ง
               ชวง เพื่อปองกันไมใหดินแตกระแหง และทําลายระบบรากของพืช
















                                                                                                               6
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19