Page 44 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 44

34   ชุดดินสุรินทร (Surin series: Su)



                                กลุมชุดดินที่  46
                                การจําแนกดิน  Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic Rhodustalfs

                                การกําเนิด     เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ และ/หรือ เศษหินเชิงเขาของหินบะซอลต

                                               พบบริเวณที่เหลือคางจากการกรอนซอยแบงของหินภูเขาไฟ
                                สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-8 %

                                การระบายน้ํา                 ดี

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลางถึงเร็ว
                                การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง

                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเต็งรัง ปลูกพืชไร
                                การแพรกระจาย         พบทางดานใตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                การจัดเรียงชั้น       A-Btc-C
                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง  ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนเหนียว (ปน

                                กรวด) สีน้ําตาลเขมหรือสีแดงเขม ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนกรวดหรือดินเหนียวปนกรวด สีน้ําตาล

                                ปนแดงเขมหรือสีแดงเขมและพบชั้นหินผุของวัตถุตนกําเนิดดินภายใน 150 ซม. ปฏิกิริยาดินเปนกรด
                                ปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ตลอด


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         สูง           สูง          ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง

                 25-50         สูง           สูง          ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง
                 50-100     ปานกลาง        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน        ชุดดินกบินทรบุรี

               ขอจํากัดการใชประโยชน      เปนดินตื้น  มีกอนกรวดลูกรังมากทําใหขัดขวางการเจริญเติบโตของพืช  เสี่ยงตอการ
               ขาดแคลนน้ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  กรณีที่ใชปลูกพืชไร ควรเลือกพืชที่มีรากสั้น เชน ขาวโพด ขาวฟาง ถั่วเขียว และอื่นๆ
               สวนกรณีที่ใชปลูกไมผลหรือไมยืนตน ควรขุดหลุมปลูก 75x75x75 ซม. หรือโตกวา แลวนําหนาดินหรือดินจากที่อื่นผสมกับ

               ปุยอินทรียใสลงในหลุมปลูก  ใหปุยอินทรียใสลงหลุมปลูก  ใหปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงสภาพ

               ทางกายภาพของดิน ตลอดจนจัดหาแหลงน้ําใหพอเพียง











                                                                                                              36
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49