Page 46 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 46

36   ชุดดินธาตุพนม (That Phanom series: Tp)



                                กลุมชุดดินที่  33
                                การจําแนกดิน  Fine-silty, mixed, semiactive, isohyperthermic Ultic Haplustalfs

                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมบริเวณสันดินริมน้ํา

                                สภาพพื้นที่    คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 1-4 %
                                การระบายน้ํา                 ดีปานกลาง

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชาถึงปานกลาง

                                การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง
                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง ปลูกพืชไร

                                การแพรกระจาย         พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                การจัดเรียงชั้น       A-Bt

                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวน สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาล
                                ปนเทา ดินลางเปนดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลปนแดงหรือสีน้ําตาลและ

                                เปนดินรวนเหนียวปนทรายแปงหรือดินรวนปนดินเหนียว  สีแดงปนเหลืองหรือสีแดงในดินลางลึกลงไป  จะ

                                พบจุดประสีเทาปนชมพู  สีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลืองในดินชั้นลาง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปน
                                กลาง (pH 5.5-7.0) ตลอด


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา
                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน          ชุดดินกําแพงแสน  และชุดดินกําแพงเพชร

               ขอจํากัดการใชประโยชน        ความอุดมสมบูรณต่ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปลูกไมผล พืชไรและพืชผักตางๆ ควรใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก และปุยเคมี

               ควบคูกันไปดวย เพื่อเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงบํารุงดินใหอุดมสมบูรณและมีสมบัติทางกายภาพดีขึ้น



















                                                                                                              38
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51