Page 43 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 43
33 ชุดดินสีทน (Si Thon series: St)
กลุมชุดดินที่ 22
การจําแนกดิน Coarse-loamy, mixed, nonacid, isohyperthermic Fluvaquentic
Endoaquepts
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมบนที่ราบลุมสองฝงลําธารในระหวางหุบเขา
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
การระบายน้ํา คอนขางเลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ทํานา ปลูกพืชไรหรือพืชผักในฤดูแลง
การแพรกระจาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น Apg-Bwg-(Cg)
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวนหรือ
ดินรวน สีดินเปนสีน้ําตาล ดินลางมีลักษณะไมแนนอน เปนพวกดินเหนียวหรือพวกดินทรายและจะ
แสดงลักษณะการเรียงชั้นสลับกันแลวแตชนิดของวัตถุตนกําเนิดที่น้ําพามาทับถมในแตละป มีสีเทา
สีเทาปนชมพูหรือสีน้ําตาลปนเทา จะพบจุดประสีแดงปนเหลือง สีพวกสีน้ําตาลหรือสีพวกสีเหลือง
ตลอดหนาตัดดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ตลอด
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา สูง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินขอนแกน
ขอจํากัดการใชประโยชน เนื้อดินคอนขางเปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการเสียหายจากน้ําทวม
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ใชทํานา แตควรจะมีการจัดการเรื่องคันนาใหเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับน้ําในชวงฤดู
เพาะปลูกและควรใชปุยอินทรีย ปุยคอก ปุยหมัก รวมกับปุยเคมี เพื่อปรับปรุงบํารุงดิน
35