Page 48 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 48
38 ชุดดินทาตูม (Tha Tum: Tt)
กลุมชุดดินที่ 7
การจําแนกดิน Fine, mixed, semiactive, isohyperthermic Aeric (Plinthic) Endoaqualfs
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนที่ราบตะกอนน้ําพา
สภาพพื้นที่ ราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %
การระบายน้ํา คอนขางเลวถึงเลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลางในดินบนและชาในดินลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ทํานาหวานและนาดํา
การแพรกระจาย พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น Ap-AB-Btgv-2C
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึก ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาล
ปนเทา ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย สีเทาปนชมพูหรือสีเทา มีจุดประสีแดงและสีแดง
ปนเหลืองของศิลาแลงออน ปริมาณ 5-50 % โดยปริมาตร พบชั้นดินที่มีเนื้อดินเปนดินทรายระหวาง
ความลึก 100-150 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)
ในดินบนและเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินพาน
ขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา อาจจะเกิดการขาดแคลนน้ําในฤดูทํานาได
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรใชปุยเคมี ปุยคอก ปุยหมัก เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณใหกับดินและทําใหสมบัติ
ทางกายภาพของดินดีขึ้น ควรจัดหาแหลงน้ําเพื่อใชในการเกษตรไดอยางเพียงพอ
40