Page 49 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 49

39   ชุดดินทาอุเทน (Tha Uthen series: Tu)



                                 กลุมชุดดินที่  24

                                 การจําแนกดิน  Coarse-loamy over clayey-skeletal siliceous over kaolinitic, subactive,
                                                      noncemented, isohyperthermic Oxyaquic Haplorthods

                                 การกําเนิด    เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมอยูบนหินตะกอนเนื้อละเอียด
                                                            บนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผนดิน

                                 สภาพพื้นที่       คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 1-4 %

                                 การระบายน้ํา                ดีปานกลางในดินบนและคอนขางเลวในดินลาง
                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ปานกลางถึงเร็ว

                                 การซึมผานไดของน้ํา        เร็วในดินบนและชาในดินลาง

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน  ปาเบญจพรรณ ไรเลื่อนลอย
                                 การแพรกระจาย        พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                 การจัดเรียงชั้น      A-E-Bhs-2C
                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกปานกลางถึงชั้นลูกรัง ดินบนเปนดินทรายปนดินรวน สีเทาหรือ

                                 สีน้ําตาลปนเทา ดินลางเปนดินรวนปนทราย  สีน้ําตาล ถัดลงไปเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน
                                 เหนียวปนทราย สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีเหลืองปนน้ําตาล ซึ่งเปนชั้นสะสมอินทรียวัตถุ อะลูมิเนียม

               และ/หรือเหล็ก (spodic  horizon)  ถัดลงไปเปนดินเหนียวสีเทาออน สีน้ําตาลซีดมากหรือสีขาว พบจุดประพวกสีแดงและ

               พวกสีเหลืองในดินลางระหวางชั้นสะสมอินทรียวัตถุ อะลูมิเนียมและ/หรือเหล็กกับชั้นดินเหนียว จะพบชั้นลูกรังจับตัวกัน
               คอนขางแนนทึบในชวงความลึกระหวาง 50-80 ซม. ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินบนและ

               เปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินบานทอน
               ขอจํากัดการใชประโยชน       เนื้อดินเปนคอนขางเปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควรรักษาไวใหมีสภาพเปนปาตามเดิม   ถานํามาใชในการเกษตรควรใชทําทุงหญา

               เลี้ยงสัตวหรือปลูกพืชทดแทนและควรมีการจัดการดินที่ดี โดยการใชปุยคอก ปุยหมัก รวมกับปุยเคมีเพื่อชวยปรับปรุงใหดิน
               มีสมบัติทางกายภาพดีขึ้น





                                                                                                              41
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54