Page 41 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 41
31 ชุดดินสูงเนิน (Sung Noen series: Sn)
กลุมชุดดินที่ 29
การจําแนกดิน Fine, mixed, semiactive, isohyperthermic Typic Paleustults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อละเอียดชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว
แผนดิน
สภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 1-5 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลาง
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง ปลูกพืชไร
การแพรกระจาย ดานใตของที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น Ap-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวน สีน้ําตาลปน
เทา ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปงหรือดินรวนปนดินเหนียวและเปนดินเหนียวหรือดินเหนียว
ปนทรายแปงในดินลางลึกลงไป สีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดงปนเหลือง จะเห็นคราบดินเหนียวบนผิว
เม็ดดินอยางชัดเจน จะพบจุดประสีเทาในดินลางลึกลงไป ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH
5.5-7.0) ในดินบนและเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง สูง ปานกลาง
25-50 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง
50-100 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินโนนสูง
ขอจํากัดการใชประโยชน เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําในชวงฤดูเพาะปลูก
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปลูกพืชไร ไมยืนตน ควรใสปุยเคมีและปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก และปุยพืช
สด เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินและเพิ่มแรธาตุใหกับดิน
33