Page 47 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 47

37   ชุดดินทุงสัมฤทธิ์ (Thung Samrit series: Tsr)



                                กลุมชุดดินที่  20
                                การจําแนกดิน  Very fine, smectitic isohyperthermic Typic Natraquerts

                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนที่ราบน้ําทวมถึง

                                สภาพพื้นที่    ราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %
                                การระบายน้ํา                 เลว

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา

                                การซึมผานไดของน้ํา         ชา
                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน  ทํานา

                                การแพรกระจาย         ที่ราบลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                การจัดเรียงชั้น       Apg-Bssgn

                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินเหนียวตลอด หนาดินมีสีเทาเขมหรือสีน้ําตาล
                                ปนเทาเขม ดินลางมีสีเทาหรือสีเทาออน มักพบจุดประสีน้ําตาลแก สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปน

                                แดงตลอดหนาตัดดิน ฤดูแลงหนาดินจะแตกระแหงกวางและลึก บางบริเวณมีคราบเกลือบริเวณผิวดิน

                                ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกกลาง (pH  5.5-7.0)  ในดินบนและเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปาน
                                กลาง (pH 6.0-8.0) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25      ปานกลาง          สูง          ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                 25-50      ปานกลาง          สูง          ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 50-100        ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน        ชุดดินพิมาย

               ขอจํากัดการใชประโยชน      เปนดินเค็มดาง ดินเหนียวจัด หนาแลงดินแนนทึบ แตกกวางและลึก
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปรับปรุงดินโดยใชอินทรียวัตถุและใสยิปซัม ปลูกพืชทนเค็ม และไถพรวนในชวงที่ดินมี

               ความชื้นเหมาะสม



















                                                                                                              39
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52