Page 38 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 38
26 ชุดดินแกลง (Klaeng series: Kl)
กลุมชุดดินที่ 6
การจําแนกดิน Very-fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Plinthaquults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนพื้นที่ราบตะกอนลําน้ํา (ตะพักลําน้ําเกา)
สภาพพื้นที่ ราบเรียบ (level) ถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
การระบายน้ํา เลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ชา ในฤดูฝนจะมีน้ําแชขัง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ใชทํานา
การแพรกระจาย พบแพรกระจายในพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกและพื้นที่ภาคใต
การจัดเรียงชั้น Apg-Bg-Btgv
ลักษณะและสมบัติดิน ดินเหนียวละเอียดลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวน ดินรวนปนดิน
เหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง มีสีน้ําตาลปนเหลือง สีน้ําตาลปนเทาหรือสีเทา ปฏิกิริยา
ดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียว
ปนทรายแปง มีสีเทา และในดินบนมีจุดประสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง สวนในดินลางจะมี
จุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีแดงปนเหลืองและมีศิลาแลงออน (plinthite) มากกวา 50 %โดย
ปริมาตร หรือพบตอเนื่องกันภายในความลึก 150 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา สูง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบางนรา ชุดดินพัทลุง และชุดดินวิสัย
ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณต่ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน เหมาะสมดีสําหรับปลูกขาว มีขอจํากัดเล็กนอยที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา
ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลง
ปลูก ไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
28