Page 42 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 42
30 ชุดดินโคกเคียน (Khok Khain series: Ko)
กลุมชุดดินที่ 17
การจําแนกดิน Fine-loamy, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiaquults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนตะพักลําน้ําเกาในสภาพพื้นที่ที่มีวัตถุตน
กําเนิดมาจากหินแกรนิต
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
การระบายน้ํา เลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว
การแพรกระจาย พบแพรกระจายทั่วไปในพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก
การจัดเรียงชั้น Apg-Bg-Btg
ลักษณะและสมบัติดิน ดินรวนละเอียดลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย มีสีน้ําตาล
ปนเทาหรือสีเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินลางมีเนื้อดินเปนดิน
รวนเหนียวปนทราย มีสีเทา และมีจุดประสีเหลืองหรือสีน้ําตาลตลอดชั้นดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด
มากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 4.5-6.0)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบางนารา และชุดดินสุไหงโก-ลก
ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณต่ํา มีเนื้อดินเปนดินปนทรายและขาดแคลนน้ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน เหมาะสมปานกลางสําหรับการทํานา มีขอจํากัดปานกลางที่มีเนื้อดินเปนดิน
ปนทรายและขาดแคลนน้ํา ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดรวมกับการใชปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 พัฒนาแหลง
น้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
32