Page 39 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 39
27 ชุดดินคลองเต็ง (Khlong Teng series: Klt)
กลุมชุดดินที่ 51
การจําแนกดิน Fine-loamy, mixed, semiactive, shallow, isohyperthermic, Typic
Haplohumults
การกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ
โดยแรงโนมถวงของหินดินดาน
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 5-20 %
การระบายน้ํา ดีถึงดีปานกลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลางถึงเร็ว
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาดงดิบชื้น ปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน
การแพรกระจาย พบแพรกระจายในพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก
การจัดเรียงชั้น Ap-Bt-Cr
ลักษณะและสมบัติดิน ดินตื้นถึงชั้นหินพื้น ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวน ดินรวนปนทรายแปงหรือ
ดินรวนปนดินเหนียว มีสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวน
ปนดินเหนียว มีสีน้ําตาลและมีสีผสมของสีหินดินดานผุพัง พบชั้นหินพื้นของหินดินดานภายในความลึก 50 ซม.จากผิวดิน
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.0)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง
25-50 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินหวยยอด (Ho) และชุดดินลี้
ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ดินตื้น สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง หนาดินงายตอการถูกชะลางพังทลาย
ความอุดมสมบูรณต่ํา และขาดแคลนน้ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน เหมาะสมปานกลางสําหรับทําทุงหญา ไมคอยเหมาะสมสําหรับปลูกพืชไร
และไมเหมาะสมสําหรับปลูกไมผลและไมยืนตน มีขอจํากัดที่มีชั้นหินพื้นตื้น ควรเลือกชนิดพืชที่ใชปลูกใหเหมาะสมกับ
ศักยภาพของดิน โดยมีการทําการเกษตรประเภทที่ไมมีการไถพรวน (แบบวนเกษตร) ปรับหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือ
ปุยคอกรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 ทําแนวรั้วหญาแฝกรวมกับฐานหญาแฝกเฉพาะตน พัฒนาแหลงน้ําไวใช
ในชวงที่พืชขาดน้ํา
29