Page 37 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 37

25  ชุดดินเขาขาด (Khao Khat series: Kkt)



                                  กลุมชุดดินที่   45
                                  การจําแนกดิน  Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic (Kandic) Plinthudults

                                  การกําเนิด     เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ

                                                      โดยแรงโนมถวงของหินดินดานในพื้นที่ที่มีการเกลี่ยผิวแผนดินในต่ําลง
                                  สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %

                                  การระบายน้ํา                 ดีถึงดีปานกลาง

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลาง
                                  การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน สวนยางพารา สวนปาลมและปาพุมเตี้ย

                                  การแพรกระจาย         แพรกระจายในพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก

                                  การจัดเรียงชั้น       A-Bw-Btc
                                  ลักษณะและสมบัติดิน  ดินเหนียวตื้นถึงชั้นลูกรัง  เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน

                                  มีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเทา  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 4.5-6.0)

                                  ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนลูกรังทับอยูบนดินเหนียวปนลูกรังมาก มีสีน้ําตาลปนเหลือง
               หรือสีแดงปนเหลืองและดินลางชั้นถัดไปจะมีเนื้อดินเปนดินเหนียว  (อาจมีลูกรังปนเล็กนอย)   และมีศิลาแลงออน

               (plinthite) มากกวา 50 %โดยปริมาตร หรือพบตอเนื่องกัน ภายในความลึก 100 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด
               มากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25     ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินคลองซาก  และชุดดินทาฉาง

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ดินตื้น ความอุดมสมบูรณของดินต่ําและขาดแคลนน้ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน  เหมาะสมดีสําหรับปลูกปาลมน้ํามัน เหมาะสมปานกลางสําหรับปลูก

               ยางพารา พืชไรและไมเหมาะสมสําหรับปลูกไมผล มีขอจํากัดที่ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ดินตื้น พื้นที่มีความลาดชัน
               หนาดินงายตอการถูกชะลางพังทลายและขาดแคลนน้ํา ควรปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมัก

               หรือปุยคอกรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2  มีระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน ปลูกพืชคลุมดิน ทําแนวรั้วหญาแฝก
               หรือฐานหญาแฝกเฉพาะตน พัฒนาแหลงน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา






                                                                                                            27
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42