Page 34 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 34

22  ชุดดินกาบแดง (Kab Daeng series: Kd)



                                 กลุมชุดดินที่   57
                                 การจําแนกดิน  Loamy, mixed, superactive, dysic, isohyperthermic Terric Sulfihemists

                                 การกําเนิด     เกิดจากการสะสมและสลายตัวผุพังของซากพืช (Organic Soil Material)

                                 สภาพพื้นที่    ที่ลุมต่ําและมีน้ําขังเปนเวลานาน พบบริเวณขอบพื้นที่พรุ
                                 การระบายน้ํา                 เลวมาก

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา

                                 การซึมผานไดของน้ํา         ชาถึงปานกลาง
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเสม็ด หญา กกและ กระจูด

                                 การแพรกระจาย         พบมากในจังหวัดนราธิวาสและนครศรีธรรมราช
                                 การจัดเรียงชั้น       Oe-Oi-Cg

                                 ลักษณะและสมบัติดิน  ดินอินทรียหนาปานกลาง  ดินบนเปนชั้นวัสดุอินทรียที่สวนใหญมีการ
                                 สลายตัวปานกลางถึงสลายตัวดีและชั้นถัดไปการสลายตัวยังไมมากนัก มีความหนา 40-100 ซม.

                                 จากผิวดิน  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0)  ดินชั้นลางเปนดินเลนตะกอนน้ําทะเล  มีสี

                                 เทาปนน้ําเงินที่มีสารไพไรท (FeS )  มากกวา 2 %  หรือมีซัลเฟอรทั้งหมดมากกวา 0.75 %
                                                             2
                                 ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 4.5-6.0)  ชั้นดินนี้เมื่อถูกเติมออกซิเจนจะ

               แปรสภาพเปนกรดกํามะถัน ทําใหดินเปนกรดอยางรุนแรงและมีคาปฏิกิริยาดินนอยกวา 4.0


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25        สูง           สูง            ต่ํา           สูง            สูง            สูง

                 25-50        สูง           สูง            ต่ํา           สูง            สูง            สูง
                 50-100       สูง           สูง            ต่ํา           สูง            สูง            สูง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินนราธิวาส

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ดินอินทรียหนา 40-100 ซม. ที่มีศักยภาพทางการเกษตรต่ํา ขาดธาตุอาหาร
               บางอยางรุนแรง ดินเปนกรดจัดมาก สภาพพื้นที่เปนที่ลุมต่ํามีน้ําขังสูงและนานเกือบตลอดป

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน    บริเวณที่ยังคงสภาพเปนปา  ควรปลอยไวเปนปาธรรมชาติ  หรือปลอยไวให
               พืชที่ชอบน้ําขึ้นปกคลุม ปลูกขาวหรือยกรองปลูกปาลมน้ํามัน บริเวณขอบๆ พื้นที่พรุ โดยการปรับสภาพความเปนกรดของ

               ดินดวยวัสดุปูนรวมกับปุยเคมี  โดยเฉพาะธาตุอาหารรอง  เชน  สังกะสีและโบรอน  พัฒนาแหลงน้ําจืด  จัดระบบการใหน้ํา
               และระบายน้ําแยกสวนกัน








                                                                                                            24
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39