Page 36 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 36

24  ชุดดินควนกาหลง (Khuan Ka Long series: Kkl)



                                  กลุมชุดดินที่   34
                                  การจําแนกดิน  Fine-loamy, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiudults

                                  การกําเนิด    เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ

                                                             โดยแรงโนมถวงของหินแกรนิต (พบในสภาพพื้นที่ที่เปนหินแกรนิต)
                                  สภาพพื้นที่   ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 2-20 %

                                  การระบายน้ํา                 ดี

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลาง
                                  การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ยางพารา ปาลมน้ํามัน ไมผลและปาแคระ

                                  การแพรกระจาย         พบแพรกระจายบริเวณพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาค

                                  ตะวันออก
                                  การจัดเรียงชั้น       A-BA-Bt

                                  ลักษณะและสมบัติดิน  ดินรวนละเอียดลึกมาก  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย  มีสี

                                  น้ําตาล  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)  ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวน
                                  เหนียวปนทรายขนาดปานกลางหรือหยาบ  มีสีน้ําตาล  และระหวางความลึก 50-100 ซม.  มีเนื้อ
               ดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายหยาบถึงหยาบมาก  มีสีน้ําตาล  สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีเหลืองปนน้ําตาลปะปนกับสีแดง

               ปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ชั้นดินลางภายในความลึก 150 ซม. มีเนื้อดินหยาบ
               เพิ่มขึ้นที่เปนชั้นของหินแกรนิตผุ

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25     ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินทายเหมือง  ชุดดินคลองนกกระทุง  และชุดดินฉลอง

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ความอุดมสมบูรณต่ํา  เนื้อดินเปนดินปนทราย  และสภาพพื้นที่มีความลาด
               ชัน หนาดินงายตอการถูกชะลางพังทลาย และขาดแคลนน้ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน    เหมาะสมดีสําหรับการปลูกพืชไร ไมยืนตนและไมผล มีขอจํากัดเล็กนอยที่มี

               ความอุดมสมบูรณต่ํา  ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับปุยเคมี
               และปุยอินทรียน้ํา พด.2 มีระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน ปลูกพืชคลุมดิน ทําแนวรั้วหญาแฝกหรือทําฐานหญาแฝกเฉพาะ

               ตน พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลงปลูก ไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา




                                                                                                            26
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41