Page 33 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 33

21  ชุดดินคลองซาก (Khlong Chak series: Kc)



                                  กลุมชุดดินที่   45
                                  การจําแนกดิน  Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandihumults

                                  การกําเนิด    เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ

                                                      โดยแรงโนมถวงของหินดินดานหรือหินในกลุมในพื้นที่ที่มีการเกลี่ยผิวแผนดิน
                                                            ใหต่ําลง

                                  สภาพพื้นที่   ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 2-20 %

                                  การระบายน้ํา                 ดี
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     เร็ว

                                  การซึมผานไดของน้ํา         เร็ว
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาดงดิบชื้น ปาลมน้ํามันและปลูกยางพารา

                                  การแพรกระจาย         พบแพรกระจายทั่วไปในภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก
                                  การจัดเรียงชั้น       Ap-Btc

                                  ลักษณะและสมบัติดิน  ดินเหนียวตื้น   ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว

                                  มีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 6.0-6.5)
                                  ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนลูกรังมาก  สีแดงปนเหลือง (มีเศษ

               หินดินดานหรือหินในกลุมปะปนอยูในดินภายในความลึก 50 ซม.จากผิวดิน) ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปาน
               กลาง (pH 5.0-6.0)


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25     ปานกลาง        ปานกลาง        ปานกลาง          สูง            สูง         ปานกลาง

                 25-50        ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินตราด  และชุดดินหนองคลา

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ดินตื้น ความอุดมสมบูรณต่ํา สภาพพื้นที่มีความลาดชันและขาดแคลนน้ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน    เหมาะสมปานกลางสําหรับการปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน    ไมคอย

               เหมาะสมสําหรับการปลูกไมผล  มีขอจํากัดที่เปนดินตื้น  ความอุดมสมบูรณต่ําและขาดแคลนน้ํา  ควรเลือกชนิดพืชที่

               เหมาะสมมาใชปลูก  ปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับการใชปุยเคมีและ
               ปุยอินทรียน้ํา  พด.2  มีระบบอนุรักษดินและน้ํา  เชน  ปลูกพืชคลุมดิน  ทําแนวรั้วหญาแฝกหรือทําฐานหญาแฝกเฉพาะตน

               พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลงปลูกพืช ไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา





                                                                                                            23
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38