Page 43 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 43

31  ชุดดินโคกกลอย (Khok Kloi series: Koi)



                                 กลุมชุดดินที่   26
                                 การจําแนกดิน  Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiudults

                                 การกําเนิด    เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ

                                                         โดยแรงโนมถวงของหินแกรนิต (พบในสภาพพื้นที่ที่เปนหินแกรนิต)
                                 สภาพพื้นที่   ลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา มีความลาดชัน 5-35 %

                                 การระบายน้ํา                 ดี

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     เร็วถึงปานกลาง
                                 การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ยางพารา ปาลมน้ํามัน สับปะรด กาแฟและปา

                                 การแพรกระจาย         พบแพรกระจายในพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก

                                 การจัดเรียงชั้น       Ap-BA-Bt
                                 ลักษณะและสมบัติดิน  ดินเหนียวละเอียดลึกมาก     เนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน

                                 เหนียวปนทรายมีสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 5.0-5.5) ดินลางมีเนื้อ

                                 ดินเปนดินเหนียวปนทรายหยาบ  มีสีน้ําตาลถึงสีแดงปนเหลือง  ชั้นดินลางถัดไปภายในความลึก
                                 150 ซม. จากผิวดินพบชั้นแกรนิตผุ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0)


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25     ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา
                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           สูง           ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินทายเหมือง  และชุดดินควนกาหลง

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ความอุดมสมบูรณต่ํา  มีเนื้อดินเปนดินปนทรายและสภาพพื้นที่มีความลาด
               ชันสูง หนาดินงายตอการถูกชะลางพังทลายและขาดแคลนน้ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน  เหมาะสมดีสําหรับการปลูกพืชไร ไมยืนตนและไมผล มีขอจํากัดเล็กนอยที่มี
               ความอุดมสมบูรณต่ําและขาดแคลนน้ํา   ควรปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอก

               รวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา  พด.2  มีระบบอนุรักษดินและน้ํา  เชน  ปลูกพืชคลุมดิน  ทําแนวรั้วหญาแฝกหรือทําฐาน

               หญาแฝกเฉพาะตน พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลงปลูกพืช ไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา









                                                                                                            33
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48