Page 29 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 29

17  ชุดดินหวยโปง (Huai Pong series: Hp)


                                   กลุมชุดดินที่   26

                                   การจําแนกดิน  Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiudults
                                   การกําเนิด    เกิดจากตะกอนของวัตถุตนกําเนิดที่เปนหินแกรนิต น้ําพามาทับถมอยูบน

                                                       ตะพักลําน้ํา หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวง (พบใน

                                                             สภาพพื้นที่ที่เปนหินแกรนิต)
                                   สภาพพื้นที่   คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 1-12 %

                                   การระบายน้ํา                 ดีถึงดีปานกลาง

                                   การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลาง
                                   การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง

                                   พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน เปนปาไมผสมผลัดใบ ปจจุบันใชปลูกพืชไร
                                                     ปาลมน้ํามัน ไมผลและยางพารา

                                   การแพรกระจาย         พบกระจายทั่วไปในพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกและบางสวนของ
                                                 ภาคใต

                                   การจัดเรียงชั้น         Ap-BA-Bt

                                   ลักษณะและสมบัติดิน  ดินเหนียวละเอียดลึกมาก  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดิน
               รวนเหนียวปนทราย มีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางมีเนื้อ

               ดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินเหนียวปนทราย  มีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรด
               เล็กนอย (pH 5.5-6.5)


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25     ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา
                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา

                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินภูเก็ต  และชุดดินพังงา

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา  ดินปนทราย  สภาพพื้นที่มีความลาดชัน  และ

               ขาดแคลนน้ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน    เหมาะสมดีสําหรับการปลูกพืชไร  ยางพารา  ปาลมน้ํามันและสวนผลไม  มี

               ขอจํากัดเล็กนอยที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา  เนื้อดินเปนดินปนทรายและสภาพพื้นที่มีความลาดชัน  ทําใหหนาดินงายตอ
               การถูกชะลางพังทลาย  ควรปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับปุยเคมีและ

               ปุยอินทรียน้ํา พด.2 มีระบบการอนุรักษดินและน้ํา เชน ปลูกพืชคลุมดิน ทําแนวคันดิน แนวรั้วหญาแฝกหรือฐานหญาแฝก
               เฉพาะตน พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลงปลูกไวใชชวงที่พืชขาดน้ํา


                                                                                                            19
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34