Page 14 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 14

2   ชุดดินบางนารา (Bang Nara series: Ba)



                                กลุมชุดดินที่   6
                                การจําแนกดิน  Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Paleaquults

                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมในพื้นที่ราบตะกอนน้ําพา (ตะพักลําน้ําระดับต่ํา)

                                สภาพพื้นที่    ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
                                การระบายน้ํา                 เลว

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา

                                การซึมผานไดของน้ํา         ชา
                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน    ทํานา
                                การแพรกระจาย         พบบริเวณภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก

                                การจัดเรียงชั้น       Apg-BAg-Btg

                                ลักษณะและสมบัติดิน  ดินเหนียวละเอียดลึกมาก  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนหรือดินรวนปนดิน
                                เหนียว สีเทาหรือสีเทาปนน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลาง

                                มีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง  สีเทา  มีจุดประสีเหลืองหรือสีน้ําตาลตลอดทุก

                                ชั้นดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 5.0-5.5)

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน             ชุดดินพัทลุง  ชุดดินแกลง  และชุดดินทาศาลา

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน     ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน  เหมาะสมดีสําหรับทํานา   มีขอจํากัดเล็กนอยที่มีความอุดมสมบูรณของดินต่ํา

               ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดรวมปุยเคมีหรือปุยอินทรียน้ํา พด.2 ถาอยูในเขตชลประทาน หลังเกี่ยวขาว สามารถใช

               ปลูกพืชไร พืชผักหรือทํานาครั้งที่ 2 ได


















                                                                                                             4
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19