Page 13 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 13

1  ชุดดินอาวลึก (Ao Luek series: Ak)



                                 กลุมชุดดินที่   26
                                 การจําแนกดิน  Very-fine, kaolinitic, isohyperthermic Rhodic Kandiudoxs

                                 การกําเนิด    เกิดอยูกับที่จากการสลายตัวของหินปูน หรือหินปูนรวมกับหินดินดาน ในพื้นที่

                                               แบบคาสต (พื้นที่ดินสีแดง มีหลุมยุบและธารน้ําใตดิน)
                                 สภาพพื้นที่   ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %

                                 การระบายน้ํา                ดี

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ปานกลางถึงเร็ว
                                 การซึมผานไดของน้ํา        ชาถึงปานกลาง
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาดงดิบชื้น ยางพารา ปาลมน้ํามัน ไมผล

                                                กาแฟ กลวย และมะละกอ เปนตน

                                 การแพรกระจาย        พบในบริเวณพื้นที่ภูเขาหินปูนโดด หรือเทือกเขาหินปูนของภาคใต ที่
                                                มักพบหลุมยุบ และลําธารน้ําใตดินในภาคใต

                                 การจัดเรียงชั้นดิน   Ap-BA-Bt

                                 ลักษณะและสมบัติดิน  ดินเหนียวจัดลึกมาก  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดิน
                                 เหนียว สีแดงหรือสีแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-6.5) ดินลางมี

               เนื้อดินเปนดินเหนียว สีแดงเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25        สูง         ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           สูง           ต่ํา

                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           สูง           ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินกระบี่  และชุดดินปากชอง
               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ดินเหนียวจัด  ความอุดมสมบูรณของดินลางต่ํา  มีเหล็กและอะลูมิเนียมสูง

               ขาดแคลนน้ําและแหลงน้ําสําหรับใชในการปลูกพืช
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน    เหมาะสมดีสําหรับการเพาะปลูกพืชทุกชนิด  มีขอจํากัดเล็กนอยที่ดินมีความ

               อุดมสมบูรณต่ํา  ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับปุยอินทรียน้ํา

               พด.2  เพื่อรักษาความสามารถในการผลิตของดินและเพิ่มธาตุอาหารใหกับพืชที่ปลูก  ใชวัสดุปูนตามความตองการปูนของ
               ดิน เพื่อเพิ่มประสิทธภาพความเปนประโยชนของธาตุอาหารในดิน พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลงปลูกพืช เพื่อ

               ไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา





                                                                                                             3
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18