Page 12 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 12
2. วัตถุประสงค
2.1 เพื่อจัดทําขอมูลชุดดินในภาคใตและชายฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใตของประเทศไทยฉบับ
ภาษาไทย
2.2 ปรับปรุงการจําแนกดินและคําอธิบายดินใหถูกตองและสอดคลองกับระบบอนุกรมวิธานดิน ป
ค.ศ. 2003
2.3 เพื่อวิเคราะหปญหาการใชที่ดินเพื่อการเพาะปลูก และเสนอแนวทางการแกไขปญหาการ
ปรับปรุงและบํารุงดินที่เหมาะสมสําหรับชุดดินนั้นๆ
3. อุปกรณและวิธีการ
3.1 อุปกรณ
1. เอกสารวิชาการฉบับที่ 523 เรื่องการกําหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคใตและ
ชายฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใตของประเทศไทยจําแนกใหมตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546 (วุฒิชาติ
ณรงค และรุงนภา, 2547)
2. ผลวิเคราะหดินของชุดดินตางๆ ในภาคใตและชายฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต
3. รูปภาพหนาตัดของชุดดินตางๆ ในภาคใตและชายฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต
4. Keys to Soil Taxonomy (Soil Survey Staff, 2003) ซึ่งเปนคูมือการการจําแนกดินระบบ
อนุกรมวิธานดิน ป ค.ศ. 2003
5. แผนที่ดินและแผนที่กลุมชุดดินของจังหวัดตางๆ ในภาคใตและชายฝงทะเลภาคตะวันออก
เฉียงใตของประเทศ
3.2 วิธีการ
1. แปลขอมูลชุดดินเปนภาษาไทย โดยยึดถือเอกสารวิชาการฉบับที่ 523 เปนตนแบบ
2. ปรับปรุงขอมูลชุดดินใหถูกตองโดยใชขอมูลผลวิเคราะหดิน แผนที่ดินและแผนที่กลุมชุดดิน
ประกอบในการพิจารณา
3. ออกตรวจสอบสภาพพื้นที่และลักษณะของชุดดินบางชุดดินที่มีขอมูลไมแนชัดในสนาม
4. แปลความหมายขอมูลดินและวิเคราะหปญหา ขอจํากัดในการใชที่ดินเพื่อเพาะปลูก และ
เสนอแนะแนวทางในการแกไข
5. จัดทําเอกสารตามรูปแบบที่กําหนดพรอมทั้งภาพหนาตัดชุดดิน
4. ผลการศึกษา
ขอมูลชุดดินในภาคใตและชายฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใตของประเทศจํานวน 96 ชุดดิน
ไดรับการปรับปรุง และแปลความหมาย เพื่อการใชประโยชนในการเพาะปลูกพืชดังนี้
2