Page 48 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 48

39





                             4. ปญหาดานการขาดแคลนแรงงาน  ผลของการสํารวจในครอบครัวจากจํานวนสมาชิกใน

                  ครัวเรือนทั้งหมด 4.71 คน มีชวยทําการเกษตรเพียง 2.75 หรือรอยละ 58.39 แมวาจะมีเด็กที่กําลังศึกษาอยู
                  เมื่อศึกษาจบแลวสวนใหญก็ไมกลับไปทํางานภาคการเกษตร  เกษตรกรจึงควรสนับสนุนใหบุตรหลาน

                  หรือคนในครอบครัวใชแรงงานของตนเองชวยงานในไรนา  ดวยการสรางแรงจูงในใหบุตรหลานกลับมา

                  ทํางานภาคการเกษตร  อาจทําไดโดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตพืชใหมีการเพาะปลูกไดตลอดทั้งป

                  ซึ่งจะทําใหเกษตรกรมีรายไดตลอดปเชนเดียวกัน  เชนการทําการเกษตรแบบผสมผสาน  ไรนาสวนผสม
                  หรือเกษตรพอเพียงเปนตน ทั้งนี้การที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตตองไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐดวย

                  เชนการสรางระบบชลประทาน การจัดหาแหลงเงินทุนและจัดหาตลาดกลางรับซื้อผลผลิตของเกษตรกรดวย

                             5. ในดานของสภาพเศรษฐกิจในครอบครัว  เนื่องจากเกษตรกรสวนใหญมีรายจายมากกวา
                  รายได  ทําใหมีปญหาเรื่องรายไดไมพอเพียงแทบทุกครัวเรือน  เปนผลทําใหมีภาระหนี้สินทางการเกษตร

                  อยูตลอดทุกป  และกระทบไปถึงหนี้สินที่กูยืมมาจากสถาบันการเงินทั้งของรัฐบาลและเอกชนตลอดจนมี

                  การกูยืมจากเพื่อนบานและญาติพี่นอง  เพื่อไปใชในการเกษตร  ซึ่งตองนําเงินกูสวนหนึ่งไปใชเพื่อการ
                  บริโภคภายในครัวเรือนดวย ทําใหมีหนี้สินตอเนื่องอยูเสมอ ดังนั้นการที่จะประกอบอาชีพทางการเกษตร

                  แตเพียงอยางเดียวไมสามารถที่จะสรางรายไดมาจุนเจือครอบครัวและยกระดับสภาพชีวิตความเปนอยู

                  ของครอบครัวเกษตรกรเหลานั้นได  รัฐควรจะสงเสริมและสนับสนุนใหมีการประกอบอาชีพเสริมทั้งใน

                  ดานทางการเกษตรและนอกการเกษตร โดยเนนการสรางงานภายในชุมชนและเปดโอกาสใหคนในทองถิ่น
                  ไดเขามามีสวนไดรับประโยชนจากโครงการความชวยเหลือของรัฐบาล
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53