Page 15 - รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงอ่างขาง ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
P. 15

11

                          พืชผัก ที่เกษตรกรปลูกมี กะหล่ําปลีรูปหัวใจ กะหล่ําปลีแดง ผักกาดหอมหอ ผักกาดหวาน ผัก

                 กาดหางหงษ กะหล่ําดาว ยอดชาโยเต ยอดถั่วลันเตา รูบารบ และดอกไมจีน เปนตน สงเสริมใหปลูกที่แปลง
                 2,000  ซึ่งอยูในการดําเนินงานของสถานีฯ  โดยสถานีฯไดจัดสรรที่ดินทํากินใหเกษตรกรในหมูบานนอแล

                 ประมาณ  40  ครอบครัวและทําการแบงพื้นที่ให  1  ไรตอครอบครัวจากพื้นที่ทั้งหมดประมาณ  100  ไรของ

                 แปลง 2,000 พันธุที่ปลูกเปนพันธุสงเสริมมีการปลูกพืชผักหลายชนิดในแปลงเดียวกันและปลูกพืชผักหมุน

                 เวียนตลอดทั้งป เกษตรกรขายผลผลิตใหกับโครงการหลวงฯ สําหรับโสมตังกุยมีปลูกอยูทั่วไปที่บานปางมา บาน

                 คุม  และบานหลวง  เริ่มปลูกประมาณกลางเดือนตุลาคมและเริ่มเก็บเกี่ยวไดในชวงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
                 เกษตรกรเก็บผลผลิตขายเอง

                           ไมดอก พบปลูกมากที่บานขอบดงเปนดอกเบญจมาศ พันธุ สงเสริม มีทั้งดอกเดี่ยวและชอรวมปลูกได

                 หลายรุน เกษตรกรขายผลผลิตใหกับโครงการหลวงฯและบางสวนมีพอคามารับซื้อในหมูบาน

                           พืชเครื่องดื่ม ที่ปลูกมาก ไดแก ชาจีน โดยชนเผานอแลมีพื้นที่ปลูกที่แปลง 2,000 ซึ่งอยูในการดําเนิน

                 งานของสถานีฯ พันธุที่ปลูกมีพันธุ กานออน หรือ หยวนจือ และ พันธุ เบอร 12 เริ่มเก็บเกี่ยวไดชวงเดือน
                 ตุลาคม-พฤศจิกายน เกษตรกรขายผลผลิตใหกับโครงการหลวงฯ

                           ดานการเลี้ยงสัตว สวนใหญเกษตรกรจะเลี้ยงสัตว เชน มา ลอ สุกร ไก กระบือ และโค เปนตน วัตถุ

                 ประสงคในการเลี้ยงมาและลอเลี้ยงไวเพื่อใชงานในการเก็บผลผลิตไมผล  เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนภูเขาและ

                 หินไมสามารถใชแรงงานเครื่องจักรไปถึงพื้นที่ได สวนสุกรและไกเกษตรกรเลี้ยงเพื่อนํามาใชบริโภคภายใน
                 ชุมชน สําหรับกระบือและโคเกษตรกรเลี้ยงไวเพื่อขายใหกับพอคาที่มารับซื้อเพื่อเปน

                 รายไดเสริมในครัวเรือน

                                  การประเมินตนทุนและผลตอบแทนการผลิตพืช



                         ไดศึกษาการผลิตพืช  ปการผลิต  2545/46  โดยคํานวณจากตนทุนผันแปรตนทุนคงที่และตนทุนทั้ง

                 หมดทั้งที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสด  สําหรับการนําขอมูลไปใชเพื่อการสงเสริมอาจพิจารณาเฉพาะรายได

                 เหนือตนทุนผันแปรที่เปนเงินสดก็ได  ในการสํารวจขอมูลการผลิตโดยกลุมเศรษฐกิจที่ดินพบประเภทการใช

                 ประโยชนที่ดินที่ใชน้ําชลประทานเปนแหลงน้ําในการผลิตมี 21 ประเภทการใชประโยชนที่ดิน ดังนี้
                        กะหล่ําปลีรูปหัวใจ  เกษตรกรปลูกกะหล่ําปลีรูปหัวใจ  พันธุ  สงเสริม  มีเนื้อที่ปลูกเฉลี่ยครัวเรือนละ

                 0.44 ไร ไดรับผลผลิตเฉลี่ยไรละ 5,354.86 กิโลกรัม มีมูลคาผลผลิตไรละ 37,162.73 บาท เกษตรกรมีคาใช

                 จายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  6,729.46บาท  ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  26,275.72  บาท

                 และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  28,694.53  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะไดผลตอบแทนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ

                 30,433.27 บาท ผลตอบแทนเบื้องตนเฉลี่ยไรละ 10,887.01 บาท และผลตอบแทนทั้งหมดหรือผลตอบ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20