Page 13 - รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงอ่างขาง ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
P. 13

9

                 คนตอพื้นที่ถือครอง 24 ไร ชนเผาปะหลองมีจํานวนคนในครัวเรือนที่อยูในวัยแรงงาน 4 คนตอพื้นที่ถือครอง

                 2 ไร และชนเผามูเซอดํามีจํานวนคนในครัวเรือนที่อยูในวัยแรงงาน 5 คนตอพื้นที่ถือครอง 11 ไร ( จากตารางภาค

                 ผนวกที่ 4 และ 6 )

                 ปญหาและความตองการ

                               -ปญหาดานสังคม  สิ่งแวดลอมและการครองชีพ  ในภาพรวมของกลุมบาน  พบวา  มีปญหารายไดไม

                 พอรายจายและยังขาดแคลนสิ่งสาธารณูปโภคพื้นฐาน  เชน  น้ํา  ไฟฟา   และโทรศัพท  รองลงมาเปนปญหา
                 ประชากรไมมีบัตรประชาชนทําใหไมสามารถเดินทางไปทํางานนอกพื้นที่ได  และทั้งหมดไมมีปญหาดาน

                 สังคม ( ตารางภาคผนวกที่ 13 )

                        -ปญหาดานการประกอบอาชีพ ในระดับหมูบาน พบวา ประชากรมีปญหาในเรื่องของราคาผลผลิตตก

                 ต่ําราคาไมแนนอนมากที่สุด รองลงมา ไดแก ปญหาศัตรูพืชรบกวน เปนตน ( ตารางภาคผนวกที่ 12 )

                               -ความตองการความชวยเหลือดานการประกอบอาชีพ ในภาพรวมของกลุมบาน พบวา ตองการให
                 รัฐประกันราคาผลผลิตใหสูงขึ้นกวาที่เปนอยูนี้เปนลําดับแรก ลําดับรองลงมา ไดแก ตองการใหจัดหาตลาดใน

                 การขายผลผลิตใหและใหสงเจาหนาที่ไปสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการปลูกพืชเพิ่มขึ้น

                               สําหรับปญหาดานการครองชีพและสังคมตองการใหจัดหาแหลงน้ําเพื่อการบริโภคใหมากที่สุด  และ
                 ปญหาเรื่องนี้เปนปญหามากถึงรอยละ 85.45 ของปญหาดานนี้ทั้งหมด ( ตารางภาคผนวกที่ 14 )

                        ทัศนคติการใชที่ดินของเกษตรกร  เปนทัศนคติระดับเกษตรกร  ซึ่งพอจะสรุปประเด็นสําคัญได  ดังนี้

                 เกษตรกรสวนใหญเตรียมดินโดยการขุดพลิกหนาดินทั้งในพื้นที่ไรและพื้นที่ไมผล   สําหรับการเผาเศษ

                 ซากพืชซึ่งในปจจุบันมีการเผานอยมากเกษตรกรมีความเห็นวาการเผาเศษซากพืชจะทําใหดินมีความอุดม
                 สมบูรณขึ้นและไมทราบวาจะทําใหมีผลเสียอยางไร คุณภาพของดินในพื้นที่ปจจุบันเมื่อเทียบกับ 5 ปที่แลวมี

                 ความเสื่อมโทรมมากขึ้น  เห็นไดจากผลผลิตที่ไดลดลง และพืชที่ปลูกไมคอยงอกงามเทาไหร  สาเหตุที่ทําใหดิน

                 เสื่อมโทรมเกษตรกรสวนใหญไมทราบสาเหตุเชนเดียวกันและไมไดดําเนินการแกไขปญหาแตอยางใด  แตก็มี

                 เกษตรกรบางสวน ประมาณ รอยละ 32.97 ของเกษตรกรทั้งหมดแกปญหาดินเสื่อมโทรมดวยการใสปุยเคมี

                 ปุยคอก ปุยหมักและปลูกพืชหมุนเวียน
                                  การใชที่ดินในปจจุบันมีสวนทําใหดินเสื่อมโทรมหรือไม   เกษตรกรตัวอยางที่สํารวจตอบวาไม

                 ทราบรอยละ  48.67  ตอบวาทําใหดินเสื่อมโทรมรอยละ  36.28  และตอบวาไมทําใหดินเสื่อมโทรม  รอยละ

                 15.05  สวนใหญไมเคยสังเกตเห็นวาดินถูกชะลางเวลาฝนตกแตก็ทราบวาเมื่อดินถูกชะลางออกไปจะทําใหผล

                 ผลิตเสียหาย  ดินเสื่อมโทรม  และเกิดรองน้ํา  มีชนเผาปะหลองเทานั้นที่ดําเนินการแกไขปญหาโดยสรางคัน
                 ดิน ปลูกหญาแฝก ปลูกพืชขั้นบันได และทํารองน้ํา ซึ่งอยูในการดําเนินงานของโครงการหลวงฯและกรม

                 พัฒนาที่ดิน นอกนั้นอีกรอยละ 20 ดําเนินการเอง
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18