Page 10 - รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงอ่างขาง ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
P. 10

6

                 เกษตรกรในพื้นที่ฯ ป 2543 เฉลี่ย 4 คนตอครัวเรือน ) ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาทิ ไมผลมี บวย ทอ พีช

                 พลัม พลับ และ พืชผัก เชน โสมตังกุยและยอดชาโยเต อาศัยน้ําฝนเปนหลักในการผลิต สถานะบุคคล พบวา
                 ประชากรสวนใหญประมาณ  รอยละ  29.94  มีบัตรจีนฮออิสระ  (  กลาวคือ  อยูในพื้นที่อีก  1  ป  จะไดขอ

                 สัญชาติไทย  )  รองลงมา  ไดแก  บัตรประชาชนและบัตรสํารวจบุคคลบนพื้นที่สูง  และเกือบทั้งหมดนับถือ

                 ศาสนาพุทธ

                                 ปะหลอง  Palong  เปนพลเมืองกลุมหนึ่ง  อยูภายใตการปกครองของนครรัฐแสนหวี  ประเทศพมา

                 ราวป พ.ศ. 2527 ไดอพยพเขามาตั้งถิ่นฐานอยูที่ บานนอแล ชายแดนไทย-พมา เอกลักษณโดดเดนหญิงปะหลองจะ

                 สวมหนองวองที่เอวตลอดเวลา มีประชากร รวม 639 คน จํานวน 102 ครัวเรือน เฉลี่ยประมาณ 6 คนตอครัว

                 เรือน ( จากการสํารวจสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในพื้นที่ฯ ป 2543 เฉลี่ย 8 คนตอครัวเรือน )
                 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมปลูกพืชผักเปนหลัก  ไดแก  กะหล่ําปลีรูปหัวใจ  กะหล่ําปลีแดง  ผักกาดหอมหอ

                 ผักกาดหวาน ผักกาดหางหงษ กะหล่ําดาว ยอดชาโยเต ยอดถั่วลันเตา รูบารบ ดอกไมจีน และชาจีน ใชแหลง

                 น้ําชลประทานเปนหลักในการผลิต  สถานะบุคคล  พบวา  ประชากรสวนใหญ  รอยละ  43.24  มีบัตรประจําตัว

                 ประชาชนแลว รองลงมา ไดแก บัตรสํารวจบุคคลบนพื้นที่สูง ประชากรนับถือศาสนาพุทธเทาเทากับนับถือ
                 บูชาผี

                        มูเซอ  Musue  หรือเรียกตัวเองวา  ลาหู  มีถิ่นกําเนิดใกลเขตแดนประเทศทิเบตอยูไมเปนหลักแหลง

                 อพยพเขาสูประเทศไทยเมื่อ  60  ป  มานี้  ชาวมูเซอที่พบอยูในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอางขางเปนมูเซอดํา

                 Lahu Na  อาศัยอยูที่บริเวณที่ตั้งของบานขอบดง  มีประชากร  รวม  303  คน  จํานวน  34  ครัวเรือน  เฉลี่ย

                 ประมาณ  9  คนตอครัวเรือน  (  จากการสํารวจสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในพื้นที่ฯ  ป  2543

                 เฉลี่ย 7 คนตอครัวเรือน ) ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาทิ ไมผล บวย ทอ พลับ ดอกเบญจมาศ และกะหล่ํา
                 ปลีแดง  อาศัยน้ําฝนและน้ําชลประทานเปนแหลงน้ําในการผลิต  นอกจากนี้ยังมีรายไดหลักจากการหัตถกรรม

                 ถักกําไรจากหญาอบูแค  ที่มีขึ้นอยูมากบริเวณดอยอางขาง  สถานะบุคคล  พบวา  ประชากรสวนใหญ  รอยละ

                 43.35 มีบัตรบุคคลบนพื้นที่สูง รองลงมา ไดแก บัตรสํารวจบุคคลบนพื้นที่สูง ประชากรนับถือศาสนาพุทธทั้ง

                 หมด


                  ดานสังคม

                         สภาพทั่วไปของหัวหนาครัวเรือนเกษตรกรและสมาชิกในครัวเรือน  อายุของหัวหนาครัวเรือนเกษตรที่สอบ

                 ถามขอมูลมีอายุเฉลี่ยประมาณ  46  ป  ซึ่งอยูในวัยแรงงานที่เปนกําลังสําคัญในการประกอบอาชีพ  ระดับการ
                 ศึกษาของหัวหนาครัวเรือน  พบวา  สวนใหญ  รอยละ  68  ไมรูหนังสือ  ลําดับรองลงมาจะจบการศึกษาใน

                 ระดับประถมศึกษาเทานั้น มีประสบการณในการปลูกพืชหลัก เชน ไมผลประมาณ 10-13 ป พืชผักประมาณ

                 3-10 ป ไมดอกประมาณ 8 ป พืชเครื่องดื่มประมาณ 3 ป หัวหนาครัวเรือนเกษตรเกินกวากึ่งหนึ่งของตัวอยาง
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15