Page 12 - รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงอ่างขาง ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
P. 12

8

                 ตารางที่  1:รายไดและรายจายของครัวเรือนเกษตรโดยเฉลี่ยของชนเผาตางๆในพื้นที่ศูนยพัฒนาโครงการหลวงอขาง  ป

                 การผลิต 2545/46

                                                                                                                       หนวย : บาท/รัวเรือน/ป

                    รายไดและรายจาย                จีนฮอ               ปะหลอง               มูเซอดํา
                                                บาท       รอยละ       บาท      รอยละ      บาท       รอยละ

             1.  รายไดเงินสดเกษตร            52,655.49            34,362.43            31,496.20

                 ทางพืช                       52,201.22              34,019.57            28,796.20

                    ทางสัตว                     454.27                342.86              2,700.00
             2.  รายจายเงินสดเกษตร           10,670.71              10,421.79            11,748.80

                 ทางพืช                        9,459.60              10,329.06            11,162.80

                    ทางสัตว                   1,211.11                  92.73               586.00
             3.  รายไดเงินสดสุทธิเกษตร       41,984.78     62.42    23,940.64   78.41    19,749.40   69.68

             4.  รายไดเงินสดนอกการเกษตร      25,272.84     37.58     6,591.18   21.59     8,590.00   30.32

             5.  รายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน   67,257.62       100    30,531.82     100    28,339.40     100

             6.  รายจายเงินสดในครัวเรือน     30,563.26              21,741.20            21,311.40
             7.  เงินสดคงเหลือกอนชําระหนี้   36,694.36               8,790.62             7,028.00



                 ที่มา : สํารวจขอมูลจากการสัมภาษณเกษตรกรในพื้นที่และวิเคราะหขอมูลโดยกลุมเศรษฐกิจที่ดิน

                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2546

                 ภาวะหนี้สิน
                               หัวหนาครัวเรือนเกษตรที่สอบถามมีหนี้สินไมมากนัก เพียงรอยละ 11.50 ของหัวหนาครัวเรือนเกษตร

                 ทั้งหมดเทานั้นชนเผาที่กูสวนใหญจะเปนจีนฮอ สวนเผาอื่นการกูยืมจะเปนในลักษณะหนี้สิน

                 หมุนเวียนปตอป  แหลงกูยืมเงินเปนการกูในระบบสถานบันการเงินมีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการ

                 เกษตรมากที่สุด รองลงมาไดแก กองทุนหมูบานและโครงการหลวงฯ นอกสถาบันการเงินมีการกูเงินจากเพื่อน

                 บานทั้งหมด ( ตารางภาคผนวกที่ 11 )

                 การถือครองที่ดิน

                        ไมมีเอกสารสิทธิ์ในการถือครองที่ดินทั้งหมด  ลักษณะการถือครองที่ดินเปนของตนเองแบบสืบทอดมา
                 จากบรรพบุรุษ  เฉลี่ยครัวเรือนละ  15  ไร  โดยชนเผาจีนฮอมีพื้นที่ถือครองมากที่สุด  ลักษณะการใชที่ดินสวน

                 ใหญปลูกไมผล รองลงมาไดแก ปลูกพืชผักและไมดอกแตก็ไมมากนักเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกไมผล ( ตาราง

                 ภาคผนวกที่ 6 ) จากผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาชนเผาจีนฮอมีจํานวนคนในครัวเรือนที่อยูในวัยแรงงาน 4
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17