Page 14 - รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงอ่างขาง ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
P. 14

10

                                  ประชากรสวนใหญไมเคยไดรับความรูเกี่ยวกับวิธีการปองกันไมใหดินเสื่อมโทรม แตก็มีบาง

                 สวนซึ่งเปนสวนนอยเคยไดรับความรูจากโครงการหลวงฯ  กรมพัฒนาที่ดิน  กรมปาไม  และเจาหนาที่จาก
                 ประเทศไตหวัน ประชากรคิดวาความรูที่ไดรับไปสามารถแกปญหาได และถามีพันธุพืชใหมหรือเทคโนโลยี

                 เขามาแนะนําสงเสริมก็สนใจยินดีรับมาปฏิบัติ  ประชากรสวนใหญไมคิดจะเปลี่ยนแปลงการทําการเกษตรที่

                 ทําอยูแลวในปจจุบัน  มีชนเผาปะหลองเทานั้นที่คิดตองการปลูกพืชผักเพิ่มขึ้น  ประชากรมีความคิดวาถา
                 ตองการเพิ่มผลผลิตใหไดมากขึ้นตองปฏิบัติดังนี้ ปรับปรุงดิน เปลี่ยนพันธุพืชใหม ลงทุนเรื่องจัดหาแหลงน้ํา

                 และใสปุยเพิ่ม ตามลําดับ และสวนใหญไมคิดที่จะเปลี่ยนอาชีพไปทําอยางอื่นนอกภาคเกษตร เนื่องจากไมมี

                 ความรูเรื่องอื่นและคิดวาการเกษตรเปนอาชีพหลักอยูแลว ( ตารางภาคผนวกที่ 15-17 )

                                             ตนทุนและผลตอบแทนการผลิต



                         ดานการปลูกพืช  เกษตรกรในพื้นที่ศูนยพัฒนาโครงการหลวงอางขางอาศัยน้ําชลประทานและน้ําฝนเปน
                 แหลงน้ําในการผลิต มีประเภทของพืชที่ปลูกและทํารายไดใหแกครอบครัวเกษตรกร ไดแก ไมผลเมืองหนาว

                 พืชผัก ดอกไม และพืชเครื่องดื่ม ไดแก ชาจีน เปนตน

                         ไมผล ที่เกษตรกรปลูกมี บวย ทอ พีช พลัม พลับ  เกษตรกรจะปลูกไมผลเฉลี่ยประมาณ 3 ชนิดตอครัว

                 เรือน ( จากการสัมภาษณเจาหนาที่ของสถานีฯ )
                         ทอหรือพีช  ที่นิยมปลูกมีสองพันธุ  คือ  พันธุพื้นเมืองที่นิยมเอามาแปรรูปโดยการดอง  และพันธุ

                 Earligrande  ที่เอามาทานสด  ฤดูเก็บเกี่ยวชวงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม  มีพื้นที่ปลูกอยูที่บานปางมา  บานคุม

                 บานหลวง และบานขอบดง สําหรับพันธุ Earligrande พบปลูกมากที่บานหลวงและบานขอบดง เกษตรกร

                 เก็บผลผลิตขายเอง

                          บวย  นิยมปลูกพันธุจากไตหวันเปนไมผลเขตหนาวที่ใชในการแปรรูปมีอายุยาวหลายสิบป  ทรงตนมี
                 ขนาดใหญแข็งแรงปจจุบันนิยมเอากิ่งพันธุพืชอื่นมาตอยอด ฤดูเก็บเกี่ยวชวงเดือนกุมภาพันธ-มีนาคม มีพื้นที่

                 ปลูกอยูที่บานปางมา บานคุม บานหลวง และบานขอบดง เกษตรกรเก็บผลผลิตขายเอง

                          พลัม  ที่นิยมปลูก  ไดแก  พันธุ  แดงบานหลวงและเปนพันธุที่เอามาทานสด  ฤดูเก็บเกี่ยวชวงเดือน

                 เมษายน-พฤษภาคม  มีพื้นที่ปลูกอยูที่บานปางมา  บานคุม  และบานหลวง  เกษตรกรเก็บผลผลิตขายเองเปน

                 สวนใหญมีบางสวนขายใหกับโครงการหลวงฯ
                          พลับ  พันธุที่พบปลูกเปนพลับหวาน  พันธุ  P2  สงเสริมใหปลูกที่บานขอบดงฤดูเก็บเกี่ยวชวงเดือน

                 กรกฎาคม-กันยายน ขายผลผลิตใหกับโครงการหลวงฯและบางสวนเกษตรกรเก็บผลผลิตขายเอง

                          สําหรับสตรอเบอรี่ เปนไมผลเขตหนาวขนาดเล็กพันธุที่พบปลูกคือ พันธุ พระราชทาน 72 ใชนํามา

                 รับประทานสด  มีพื้นทีปลูกอยูที่บานขอบดง  (  ชนเผานอแลเปนผูปลูกโดยเผามูเซอดําใหเชาพื้นที่  )  ฤดูเก็บ

                 เกี่ยวชวงเดือนพฤศจิกายน-เมษายน เกษตรกรขายผลผลิตใหกับโครงการหลวงฯ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19