Page 114 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 114

6-2








                                2)  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรังที่มีความเหมาะสมปานกลาง      (Z-II)
                       หลักเกณฑ และปจจัยในการจัดทํา คือ

                                   -  มีระดับความเหมาะสมของที่ดินระดับปานกลางถึงสูง  และการใหผลผลิตในการ

                       ปลูกขาวนาปรังอยูในชวงผลผลิตปานกลางถึงสูง
                                   -  มีการปลูกขาวนาปรังในปจจุบัน แตอยูนอกเขตชลประทาน มีการใชน้ําจากแหลงอื่น

                       ชวยในการเพาะปลูก

                                3)  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรังที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (Z-III) หลักเกณฑ
                       และปจจัยในการจัดทํา คือ

                                   -  มีระดับความเหมาะสมของที่ดินระดับต่ํา และการใหผลผลิตในการปลูกขาวนาปรัง

                       อยูในชวงผลผลิตปานกลาง
                                   -  มีการปลูกขาวนาปรังในปจจุบัน และมีปริมาณน้ําไมเพียงพอและเสี่ยงตอการ

                       ขาดแคลนน้ํา พื้นที่บริเวณนี้บางสวนนําไปใชปลูกพืชทดแทน

                                โดยจะพิจารณาคัดเลือกพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมาก (Z-I)  เปนอันดับแรก  ถามีพื้นที่

                       ไมเพียงพอ เพื่อใหไดผลผลิตรวมทั้งประเทศ ตามยุทธศาสตรขาวป 2547-2551 ซึ่งกําหนดพื้นที่และ
                       เปาหมายผลผลิตขาวนาปรังรวมทั้งประเทศ  โดยการรักษาระดับพื้นที่ไวประมาณ 9.0  ลานไรและ

                       ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 6.42 ลานตัน ในป 2546 เปน 7.20 ลานตัน ในป 2551 ก็จะพิจารณา คัดเลือก

                       พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II)  และพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (Z-III)  ตามลําดับ

                       สําหรับพื้นที่กําหนดเขตการใชที่ดินจะคํานึงถึงพื้นที่มีการปลูกขาวนาปรังจริงในเขตชลประทาน
                       เปนสําคัญโดยเฉพาะการใชที่ดินในชวง 1-2 ปที่ผานมา ทั้งนี้ เนื่องจากการสงน้ําเพื่อการเพาะปลูกพืช

                       ในเขตชลประทานภาคเหนือและภาคกลาง สวนใหญจะเปนการสงน้ําสลับหมุนเวียนพื้นที่ดานซาย-ขวา

                       ของคลองสงน้ําปเวนป เพื่อใหเกษตรกรสามารถทํานาไดทั่วถึง โดยขึ้นอยูกับการบริหารจัดการน้ําและ
                       ปริมาณน้ําตนทุนในแตละป ดังนั้นการกําหนดเขตการใชที่ดินในภาพรวม จึงวางแผนเพื่อใหครอบคลุม

                       ในทุกพื้นที่โดยการวิเคราะหสภาพการเพาะปลูกจริงยอนหลัง 2 ป (ปการผลิต 2546 และ 2547)

                       แตในสภาพความเปนจริงแลว  เกษตรกรจะไมสามารถปลูกไดเต็มพื้นที่  โดยเฉพาะในป 2548
                       พื้นที่ปลูกขาวนาปรังลดลงจากปกอนประมาณ 1 ลานไร ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยเรื่องน้ําชลประทานและ

                       นโยบายการบริหารและการจัดสรรน้ําเพื่อการปลูกพืชฤดูแลงในแตละปเปนหลัก ดังนั้น ทางเลือกที่

                       เหมาะสมของเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต  เพื่อลดความเสี่ยงและมีน้ําเพียงพอตลอดฤดูแลง
                       โดยการพิจารณาเพาะปลูกในเขตการใชที่ดินที่มีความเหมาะสมมากเปนลําดับแรกและปานกลาง

                       รองลงมาตามลําดับ  และถามีความจําเปนที่ไมสามารถเลือกไดจึงคอยพิจารณาเขตการใชที่ดินที่มี

                       ความเหมาะสมนอย เปนลําดับทายสุด





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119