Page 119 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 119

6-7








                       ตางประเทศ เชน ภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะกําหนดเปนเขตปลูกขาวเหนียว
                       ซึ่งสามารถปลูกไดทั้งนาปและนาปรังในเขตชลประทาน  นาในเขตชลประทานในภาคกลางและ

                       ภาคเหนือตอนลางจะกําหนดเปนเขตปลูกขาวพันธุปทุมธานี 1  สวนเขตนาชลประทานภาคกลาง

                       และภาคเหนือตอนลางจะกําหนดเปนเขตปลูกขาวที่มีเปอรเซ็นตอมิโลสปานกลาง เชน พันธุ กข.21
                       กข.23 สุพรรณบุรี 60 เปนตน

                                มาตรการกําหนดเขตนี้ จะดําเนินการโดยใหเปนไปตามความสมัครใจของเกษตรกรและ

                       ในพื้นที่ใหญ  แตจะรณรงคใหเกษตรกรเห็นประโยชนในการกําหนดเขตและพิจารณาสิ่งจูงใจ  ให
                       เกษตรกรตามความจําเปนและเหมาะสม  โดยคํานึงถึงปจจัยการผลิตและน้ําชลประทานในแตละป

                       เปนสําคัญ

                                2)  การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานการผลิตขาว
                                   ไดแก ระบบชลประทานและเครือขายน้ํา รวมทั้งการปรับปรุงบํารุงดินและพื้นที่นา

                       เพื่อปรับปรุงโครงสรางดินใหดินมีความอุดมสมบูรณ  มีเนื้อดิน  น้ํา  อากาศ  และอินทรียวัตถุใน

                       สัดสวนที่เหมาะสมตอการเพาะปลูก สามารถใหผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้น และลดตนทุนการผลิต โดย :

                                    2.1)   เพิ่มระบบชลประทานและเครือขาย เพื่อพัฒนาแหลงน้ําและระบบน้ําในระดับไรนา
                       ใหมีพื้นที่การผลิตที่มีศักยภาพสามารถทําการผลิตได

                                    2.2)   ปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยเนนการใชปุยอินทรีย (ปุยหมักและ

                       ปุยพืชสด)  แกไขดินที่มีปญหาตอการปลูกขาว  โดยเฉพาะในแหลงผลิตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                       และภาคกลาง หากสภาพดินไมเหมาะสมกับการทํานา  อาจสงเสริมใหปรับเปลี่ยนไปทํากิจการอื่น
                       เชน การปลูกพืชไรอายุสั้นและพืชตระกูลถั่วเพื่อปรับปรุงบํารุงดินและใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ

                                3)  การถายทอดองคความรูโดยใหเกษตรกรเปนศูนยกลางการเรียนรู

                                   เนนการเรียนรูแบบครบวงจรตั้งแตระบบนิเวศในไรนา ลักษณะการเจริญเติบโตของ
                       ขาว การเลือกพันธุ การใชปุย การปองกันกําจัดศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

                       การใชเครื่องจักรกลการเกษตร โดยมุงเนนการลดการใชสารเคมีและการลดตนทุนการผลิต

                                4)  สงเสริมการผลิตและการใชสารอินทรีย ชีวภาพ แทนการใชสารเคมี
                                   โดยใหเกษตรกรเปนผูผลิตและใชเอง  เพื่อใหเกษตรกรพึ่งพาตนเองในการผลิต

                       โดยใชประโยชนจากวัตถุดิบที่มีอยูในไรนา เชน ปุยคอก ใชทําปุยหมักการไถกลบตอซัง หรือปุยพืชสด

                       เพื่อปรับปรุงบํารุงดิน ใหเลิกการเผาฟางขาวเพื่อรักษาสภาวะแวดลอม ซึ่งจะเปนการลดตนทุนการผลิต










                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124