Page 118 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 118

6-6








                                3)  ปรับพื้นที่แปลงนาในบางพื้นที่ ใหมีรูปรางและขนาดสะดวกตอการใชเครื่องจักรกล
                       ทั้งในแงการผลิต ขนถายผลผลิต และเคลื่อนยายเครื่องจักรได

                                4)  สนับสนุนการปรับแตงเครื่องจักรที่รัฐใหการสนับสนุน เพื่อใหมีการใชงานอยางเต็ม

                       ประสิทธิภาพ
                                5)  สงเสริมความรูใหผูประกอบการรถเก็บเกี่ยว เพื่อใชเครื่องจักรการเกษตรอยาง

                       ถูกตองเหมาะสม

                                6)  วิจัย คนควาหาพันธุขาวใหมๆ ตามความตองของตลาด
                                7)  สงเสริมใหเกษตรกรใชเมล็ดพันธุขาวที่มีคุณภาพดี และมีการเปลี่ยนพันธุใหมทุกๆ

                       ฤดูปลูก

                                8)   ถายทอดองคความรู โดยใหเกษตรกรเปนศูนยกลางการเรียนรู เนนหนักใหเกษตรกร
                       เรียนรูความตองการของเกษตรกรตามระบบโรงเรียนเกษตร ( Farm Field School )  มีการเรียนรู

                       แบบครบวงจร ตั้งแตระบบนิเวศในไรนา ลักษณะการเจริญเติบโตของขาว พันธุขาว การปองกัน

                       กําจัดศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว มุงเนนลดการใชสารเคมี และลดตนทุนการผลิต

                                9)   สนับสนุนการวิจัย พัฒนาผลิตภัณฑและผลพลอยไดจากขาว เชน ผลิตภัณฑแปรรูป
                       จากขาวที่เปนอาหารพรอมบริโภคทันที หรือมีการหุงตมที่ไมยุงยาก

                                10) ผลักดันใหมีการใชมาตรฐานการซื้อขายขาวเปลือก

                                11) ผลักดันใหมีการติดสลากขาวบรรจุถุง

                                12)  สรางแรงจูงใจใหมีการผลิตขาวที่ไดการรับรองมาตรฐาน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
                       (เครื่องหมาย Q)

                                13) สงเสริมการบริโภคขาวและผลิตภัณฑภายในประเทศ

                                14) ผลักดันใหขาวและผลิตภัณฑแปรรูปขาวเปนอาหารสากล
                                15) สงเสริมการผลิตและการใชสารอินทรีย และสารชีวภาพแทนสารเคมี

                                16) สงเสริมสนับสนุนสถาบันเกษตรกรใหมีสวนรวมในการซื้อขายในตลาดสินคาเกษตร

                       ลวงหนา
                                17) จัดตั้งองคกรที่รับผิดชอบในเรื่องขาวแบบครบวงจร

                                18) จัดตั้งคณะทํางานในรูปแบบบูรณาการทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อเจรจาทางการคากับ

                       ประเทศคูคาและแขงขัน

                           6.3.4 การเพิ่มผลิตภาพการผลิต


                                1)   การเพิ่มผลิตภาพโดยการจัดทําเขตการผลิตขาวนาปรัง  โดยกําหนดเขตการปลูกขาว

                       ตามสภาพขีดความสามารถการจัดหาน้ําและตรงตามความตองการของตลาดทั้งภายในและ



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123