Page 112 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 112

5-4








                                11)  ขาดนโยบายหรือยุทธศาสตรการพัฒนาขาวระยะยาว ประเทศไทยเปนผูนําในการ
                       สงออกขาวของโลก แตขาดนโยบายหรือยุทธศาสตรขาวของประเทศแบบบูรณาการ ในการวางแผนการผลิต

                       และการตลาดที่ชัดเจนในระยะยาว เพื่อใหการผลิตมีเสถียรภาพและมีทิศทางที่ชัดเจน

                                12)     คูแขงกําลังพัฒนาพันธุขาวหอม  โดยเฉพาะประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
                       และเวียดนาม  ซึ่งเปนประเทศคูคาและคูแขงของไทยกําลังวิจัยและพัฒนาพันธุขาวหอมซึ่งอาจจะทําให

                       ไทยตองเสียตลาดขาวหอม     เนื่องจากผลิตไดเองประกอบกับคาจางแรงงานต่ํากวาไทยและ

                       โครงสรางพื้นฐานของดินและน้ํามีความอุดมสมบูรณมากกวาไทย ผลผลิตตอไรสูงกวาไทย สงผลให
                       ตนทุนตอกิโลกรัมต่ํากวาไทย

                                13)  มีหลายประเทศที่มีการปลูกขาวพันธุลูกผสมมากขึ้น  โดยเฉพาะประเทศผูสงออกขาว

                       ที่สําคัญ ไดแก ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เวียดนาม อินเดีย พมา และประเทศผูนําเขา
                       ขาวที่สําคัญของโลก  ไดแก  ประเทศฟลิปปนส  อินโดนีเซีย  เปนตน  ซึ่งขาวลูกผสมสามารถ

                       ใหผลผลิตตอไรสูงถึงประมาณ 1-2  ตันตอไร  ถาประเทศเหลานี้มีการขยายการปลูกมากขึ้น

                       จะทําใหผลผลิตโดยรวมของโลกเพิ่มขึ้นมาก  สงผลกระทบตอการคาและราคาขาวในตลาดโลก

                       และราคาสงออกขาวของไทยได












































                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117