Page 111 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 111

5-3








                       และรูปรางกระทงนาใหใหญเพียงพอและเหมาะสมตอการใชเครื่องจักรกลเพื่อเตรียมดิน  เก็บเกี่ยว
                       ขนสงผลผลิต  และระบายน้ํา

                                4)   การปลูกขาวหลายพันธุในแหลงผลิตเดียวกัน  เนื่องจากเกษตรกรมีการปลูกขาว

                       หลายพันธุในแตละแหลง  ซึ่งจะมีคุณภาพแตกตางทั้งขนาดเมล็ดและความนุม  บางแหงมีการเก็บเกี่ยว
                       และการเก็บรวบรวมปนกัน ทําใหเกิดปญหาเรื่องคุณภาพไมสม่ําเสมอ

                                5)   ใชเมล็ดพันธุเกาซ้ําหลายป  แมวาเกษตรกรสวนใหญจะมีการปลูกขาวพันธุดีมาก

                       แลวก็ตามแตเมล็ดพันธุที่นํามาปลูกเปนพันธุที่เก็บไวเองใชหลายรอบหรือจัดหาจากเพื่อนบาน
                       ไมมีการจัดหาเมล็ดพันธุใหมที่มีคุณภาพดีมาปลูก  ทําใหเกิดปญหาคุณภาพขาวและประสิทธิภาพ

                       การผลิตต่ํา

                                6)   ระบบการถายทอดความรูยังไมเหมาะสม  ระบบการถายทอดความรูที่ผานมา
                       เปนระบบที่ใหเจาหนาที่เขาไปแนะนํา  หรือจัดอบรมเปนครั้งคราวไมตอเนื่องและอาจไมตรงกับ

                       ปญหาของเกษตรกรในแตละพื้นที่  ซึ่งไมกอใหเกิดการเรียนรูที่แทจริง  ทําใหเกษตรกรไมมี

                       ความมั่นใจที่จะยอมรับ

                                7)   การผลิตเนนปริมาณมากกวาคุณภาพ  ในอดีตที่ผานมาการเพิ่มปริมาณผลผลิต
                       จะเนนการเพิ่มพื้นที่หรือจํานวนรอบของการปลูกตอปมากกวาการเพิ่มผลผลิตตอไร  นอกจากนี้

                       ยังขาดการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวที่มีประสิทธิภาพทําใหไดผลผลิตที่ไมมีคุณภาพ

                                8)   การปลอมปนขาวโดยการผสมขาวพันธุอื่น โดยผูซื้อหรือผูบริโภคไมทราบ ยังเกิดขึ้น

                       ในตลาดทุกระดับทั้งขาวเปลือก และขาวสาร ทั้งในและตางประเทศ  และบางชนิดก็ตรวจสอบยาก
                                9)  ขาดการสงเสริมการตลาดผลิตภัณฑแปรรูป  ในปจจุบันมีผลงานวิจัยทางดาน

                       ผลิตภัณฑแปรรูปจํานวนมากทั้งภาครัฐและเอกชนแตขาดการเชื่อมโยงในการนําผลงานวิจัย

                       มาสงเสริมเชิงพาณิชย  นอกจากนี้ในสวนของการแปรรูปก็เปนการการแปรรูปผลิตภัณฑอยางงาย
                       และมีการสงออกในปริมาณไมมากนัก  เชน  ประเภทแปง  เสนหมี่  เสนกวยเตี๋ยว  และขนมอบกรอบ

                       เปนตน เนื่องจากขาดการสงเสริมดานการตลาด

                                10)  ขาดองคกรที่รับผิดชอบดูแลขาวอยางครบวงจร ขาวเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของ
                       ประเทศและมีเกษตรกรที่ทํานามากที่สุดถึงรอยละ 66 ของเกษตรกรทั้งประเทศแตไมมีองคกร

                       ที่รับผิดชอบเพื่อดูแลและรับผิดชอบเกี่ยวกับขาวทั้งระบบ  องคกรที่ดูแลกระจัดกระจายอยูใน

                       หลายหนวยงานไมครอบคลุมทุกดาน จึงทําใหขาดผูกําหนดนโยบายในเรื่องขาวทั้งระบบอยางเปน
                       รูปธรรมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว แมจะมีคณะกรรมการนโยบายขาว (กนข.) อยูแลวแตสวนใหญ

                       จะดูแลเฉพาะทางดานตลาดเทานั้น ปจจุบันสถาบันขาวแหงชาติ กําลังจะจัดตั้งขึ้นในอนาคต





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116