Page 109 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 109

บทที่ 5

                                           โอกาสและขอจํากัดในการผลิตและการตลาด



                       5.1  โอกาสในการพัฒนาการผลิตและการตลาด



                                1)  ขาวไทยมีภาพพจนที่ดีและเปนที่ยอมรับในตลาดโลก  ในฐานะผูนําทั้งดานปริมาณ
                       และคุณภาพ

                                2)  มีพันธุขาวหอมคุณภาพดี  ประเทศไทยมีขาวหอมหลายชนิดพันธุ  เชน  ขาวหอมมะลิ

                       (ขาวดอกมะลิ 105 และ กข 15)  ขาวเจานางมล เอส 4  ขาวปทุมธานี 1  ขาวเจาหอมคลองหลวง 1

                       ขาวเจาหอมสุพรรณบุรี  โดยเฉพาะขาวหอมมะลิเปนขาวหอมที่ดีที่สุด    และมีแหงเดียวในโลกเปนที่
                       รูจักของผูบริโภคใน ชื่อ Jasmine Rice Fragrant Rice และ Thai Hom Mali Rice

                                3)  มีพันธุขาวหลายชนิดที่สามารถสนองความตองการของตลาด ประเทศไทยมีสินคาขาว

                       ที่มีความหลากหลาย ทั้งขาวนุม(อมิโลสต่ํา) ขาวแข็ง (อมิโลสสูง) และรสชาติที่สามารถตอบสนอง
                       ความตองการของลูกคาไดทุกลักษณะ

                                4)  มีการใชกลไกตลาดเปนแรงผลักดัน ทําใหมีการเพิ่มขึ้นและสามารถสงออกไดเพิ่มขึ้นมา

                       อยางตอเนื่อง
                                5)  ไทยอยูในเขตมรสุมเหมาะแกการปลูกขาว  ประเทศไทยตั้งอยูในเขตมรสุม ซึ่งมี

                       ฤดูฝนที่ยาวนาน และมีปริมาณมาก  ถาสามารถสรางเขื่อนกักเก็บน้ําไดก็สามารถปลูกขาวได 2–3 ครั้งตอป

                       เชน การทํานาปรังในเขตชลประทาน  คุณสมบัติขอนี้ไมมีในประเทศที่ตั้งอยูในเขตอบอุน ถึงแม
                       ปลูกขาวไดผลผลิต 1 ตันตอไร แตก็ปลูกขาวไดปละครั้ง แตในเขตชลประทานของภาคกลางของประเทศไทย

                       สามารถปลูกขาวได 2–3 ครั้งตอป หรืออาจจะ 5 ครั้งตอ2ป ไดผลผลิตมากกวา 2 ตันตอไรตอป

                                6)  ประเทศไทยมีการจัดทํานโยบายขาวและยุทธศาสตรขาวมาโดยตลอด  เพื่อเปนการ
                       กําหนดแนวทางและดําเนินการในการพัฒนาการผลิตและการตลาดขาวไทย

                                7)  มีการศึกษาและทดลองเพื่อการพัฒนาการผลิตขาว ไดแก การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต

                       ศึกษาวิธีการลดตนทุน ศึกษาวิธีการจัดการน้ําในการปลูกขาวนาปรัง วิจัย และทดลอง เพื่อการพัฒนา

                       พันธุขาวใหไดผลผลิตสูง ตานทานโรค และแมลงศัตรูขาว  เปนตน
                                8)   ขาวหอมมะลิจังหวัดสุรินทร ไดรับการจดทะเบียนเปนสินคาคุมครองสิ่งบงชี้

                       ทางภูมิศาสตรและสนับสนุนกลุมเกษตรกรใหเขารวมโครงการเพื่อใหผลผลิตที่ผลิตไดใช

                       ตราสัญลักษณสินคาสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ซึ่งตราสัญลักษณนี้กําลังเปนที่นิยมของผูบริโภค

                       ในกลุมสหภาพยุโรป โดยเฉพาะประเทศฝรั่งเศสซึ่งสนับสนุนใหทั่วโลกบริโภคสินคาที่มีคุณภาพ
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114