Page 110 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 110

5-2








                       มาจากแหลงกําเนิดที่มีชื่อเสียง และมีคุณลักษณะพิเศษของสินคานั้นๆ ประเทศไทยได
                       ประกาศใชพระราชบัญญัติสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร พ.ศ. 2546 และมีผลบังคับใชตั้งแต วันที่ 28

                       เมษายน พ.ศ. 2546 โดยมีขั้นตอนการรับรองมาตรฐานสินคาเปนที่ยอมรับกอนที่จะออก

                       ตราสัญลักษณใหไดรับความคุมครอง
                                9)  การขยายการคาตามขอตกลงระหวางประเทศ  การเปดตลาดของประเทศสมาชิก

                       องคการการคาโลก(WTO)  และการคาเสรี(FTA)  มีผลดีตอไทยซึ่งเปนประเทศผูผลิตและมีศักยภาพ

                       ในการสงออก  สามารถขยายตลาดไดเพิ่มขึ้น  เนื่องจากประเทศไทยมีขาวหลากหลายชนิดใหเลือก
                       ตามความตองการของผูบริโภค

                                10)   ความตองการผลิตภัณฑแปรรูปที่พรอมบริโภคเพิ่มขึ้น เนื่องจากปจจุบันวิถีชีวิต

                       ของประชากรในเมืองตองทํางานแขงขันกับเวลา  แนวโนมการบริโภคอาหารสําเร็จรูป
                       เพื่อความสะดวกจะมีเพิ่มขึ้น

                                11)  ความตองการอาหารเพื่อสุขภาพมีแนวโนมเพิ่มขึ้น  เนื่องจากปจจุบันแนวโนม

                       ประชากรจะใหความสําคัญตอสุขภาพของตัวเองและสภาพแวดลอมมากขึ้น  สงผลใหเลือกบริโภค

                       สินคาที่มีประโยชนตอสุขภาพ เชน ขาวอินทรีย ขาวแดง ขาวดํามากขึ้น โดยเฉพาะในกลุมประเทศ
                       สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกาและญี่ปุน เปนตน

                                12)  ประเทศไทยจะเปนครัวของโลก  รัฐบาลไดกําหนดเปนนโยบายใหประเทศไทย

                       เปนครัวของโลก และขาวเปนสินคาหนึ่งที่สามารถผลักดันควบคูกับอาหารไทยในครัวโลกได


                       5.2  ขอจํากัดในดานการผลิตและการตลาด


                                1)  ระบบชลประทานไมเพียงพอ  ทั้งนี้เนื่องจากขาวเปนพืชที่ตองการน้ํามากประมาณ

                       1,400-1,800  ลูกบาศกเมตรตอไร  แตมีพื้นที่อยูในเขตชลประทานเพียงรอยละ 24.3  ของพื้นที่

                       และการทํานาปรังก็ประสบกับสภาวะความแหงแลง  น้ําตนทุนไมเพียงพอปลูกไดเต็มพื้นที่ที่เหลือ
                       นอกจากนั้นจะอาศัยแหลงน้ําธรรมชาติและแหลงน้ําอื่นๆ ในการเพาะปลูก  ซึ่งตองประสบกับ

                       ปญหาการขาดน้ําเปนประจํา ทําใหการผลิตไมมีประสิทธิภาพ  ผลผลิตตอไรต่ํา

                                2)   ดินสวนใหญเสื่อมโทรม ขาดอินทรียวัตถุและมีปญหาดินเค็มและดินเปรี้ยว สงผลตอ

                       การผลิตขาว  เนื่องจากความอุดมสมบูรณของดินต่ํา  พื้นที่ถูกใชทําการเกษตรมาเปนเวลานาน
                       โดยไมมีการบํารุงรักษาเทาที่ควรทําใหผลผลิตตอไรต่ํา

                                3)   พื้นที่นาแปลงเล็กไมเหมาะสมตอการใชเครื่องจักรกล  โดยเฉพาะในบริเวณ

                       ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือตอนบน  มีพื้นที่สวนนอยเทานั้นที่ไดรับการจัดขนาด




                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115