Page 105 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 105

4-7








                       4.2    ปญหา ความตองการความชวยเหลือและทัศนคติ
                              4.2.1  ปญหาและความตองการความชวยเหลือ

                                       ปญหาการผลิต  จากการศึกษาพบวาเกษตรกรมีปญหาในการผลิตรอยละ 94.44

                       มีเพียงสวนนอยรอยละ 5.56 ที่ไมมีปญหา ลักษณะของปญหา ไดแก ศัตรูพืชรบกวนรอยละ 60.00
                       สภาพดินขาดความอุดมสมบูรณและขาดแคลนแหลงน้ํา เกษตรกรมีปญหา 2 ดานนี้เทากัน

                       รอยละ  32.22  ปญหาฝนแลงรอยละ 20.00 ไมมีที่ดินเปนของตนเองรอยละ 18.89 ราคาผลผลิตตกต่ํา

                       รอยละ 17.78  ผลผลิตมีคุณภาพต่ํารอยละ 14.44  ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 10.00 นอกนั้น

                       ประสบปญหาขาดแคลนเงินทุน  น้ําทวม ที่ดินไมเพียงพอตอการเลี้ยงชีพและขาดแคลนพันธุที่มีคุณภาพ
                       (ตารางที่ 4-4)

                                     ความตองการความชวยเหลือดานการผลิต  เกษตรกรที่ปลูกขาวนาปรังมี

                       ความตองการความชวยเหลือดานการผลิตรอยละ  74.44  ลักษณะของความตองการ ไดแก  ตองการ

                       ใหจัดหาหรือสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตรรอยละ 38.89  ตองการใหสงเสริมและแนะนําดานการ
                       ปรับปรุงดินรอยละ 27.78  ตองการใหจัดสรรที่ดินทํากินรอยละ 20.00  สงเสริมแนะนําดานการ

                       อนุรักษดินและน้ํารอยละ  18.89  จัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรมรอยละ  10.00 นอกนั้น

                       ตองการใหจัดหาตลาดจําหนายผลผลิต  สงเสริมและแนะนําการปลูกพืช  ประกันราคาผลผลิตและ
                       จัดใหมีการฝกอบรมวิชาชีพ  (ตารางที่ 4-4)

                              4.2.2  ทัศนคติ

                                       ทัศนคติการใชที่ดิน  จากการศึกษาทัศนคติการใชที่ดินของเกษตรกรพบวา

                       เหตุผลที่เกษตรกรใชที่ดินปลูกขาวนาปรังเนื่องจาก ดูแลรักษางายรอยละ 51.11 ใหผลผลิตเร็วรอยละ
                       12.22  ขายไดราคาดีรอยละ 5.56  และเนื่องจากภูมิอากาศเหมาะสมรอยละ 4.44  จากการสอบถาม

                       ความคิดเห็นที่จะเปลี่ยนการใชที่ดินปลูกขาวนาปรังไปปลูกพืชฤดูแลงชนิดอื่นหรือไมนั้น เกษตรกร

                       รอยละ 66.67 ไมคิดที่จะเปลี่ยนแปลง อีกรอยละ 33.33  ไมแนใจและไมแสดงความคิดเห็น
                       เนื่องจากขาวนาปรังเปนพืชอายุสั้น การใชพื้นที่นาในเขตชลประทานหลังการปลูกขาวนาป

                       เกษตรกรสามารถตัดสินใจปลูกพืชฤดูแลงชนิดอื่นไดทุกปและปลูกพืชไดทุกชนิด เชน ถั่วเหลือง

                       ถั่วเขียว  ขาวโพดฝกออน  เปนตน เนื่องจากพืชชนิดอื่นดังกลาวตองการน้ํานอยกวาขาวนาปรัง

                       (ตารางที่4-5)
                                     ทัศนคติในการเพิ่มผลผลิต จากการศึกษาความคิดเห็นของเกษตรกรในการเพิ่ม

                       ผลผลิตขาวนาปรัง พบวา เกษตรกรรอยละ 42.22 มีความคิดเห็นวา ควรปรับปรุงดิน เกษตรกรรอยละ

                       37.78 มีความคิดเห็นวา ควรลงทุนจัดหาแหลงน้ํา และรอยละ 5.56 มีความเห็นวา เปลี่ยนพันธุใหม






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110