Page 107 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 107

4-9








                       สําหรับความคิดที่จะมีการเปลี่ยนแปลงการประกอบอาชีพไปสูอาชีพนอกภาคเกษตรนั้น
                       เกษตรกรรอยละ 38.89 ไมมีความคิดที่จะเปลี่ยน และอีกรอยละ 61.11 ไมแสดงความคิดเห็น

                       (ตารางที่ 4-5)

                                     จากการศึกษาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวนาปรังรวมทั้งปญหาและ
                       ความตองการใหชวยเหลือดานการผลิต จะเห็นวาการผลิตขาวนาปรังในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง(S1)

                       ไดผลผลิตและผลตอบแทนสูงกวาในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง(S2) โดยพื้นที่ที่มี

                       ความเหมาะสมสูงมีตนทุนสูงกวาเล็กนอย และระดับราคาใกลเคียงกัน ผลตอบแทนที่แตกตางกัน
                       เนื่องจากผลผลิตเฉลี่ยตอไรตางกันรอยละ 14.07 ซึ่งแตกตางกันไมมากนัก ผลผลิตเฉลี่ยตอไรทั้งใน

                       พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงและปานกลางสูงกวาผลผลิตเฉลี่ยขาวนาปรังทั้งประเทศในชวง 10 ป

                       (ป 2538 – 2547) ซึ่งไดผลผลิตเฉลี่ย 656 – 721 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 2-12) ดังนั้นจะเห็นวา
                       การผลิตขาวนาปรังทั้งในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงและความเหมาะสมปานกลางไดรับผลผลิตสูง

                       โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง ซึ่งไดผลผลิตสูงกวา แตผลตอบแทนจากการลงทุน

                       ไมแตกตางกันมากนัก ซึ่งจากคาอัตราผลตอบแทนตอตนทุนทั้งหมด (B/C) มีคาใกลเคียงกัน

                       กลาวคือ ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงคา B/C เทากับ 0.67 และในพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                       ปานกลางคา B/C มีคาเทากับ 0.59 แสดงใหเห็นวา การผลิตขาวนาปรังในพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                       ทั้ง 2 ระดับ ดังกลาว ไดรับผลตอบแทนจากการลงทุนต่ํากวาคาใชจายที่ลงทุนไป แตอยางไรก็ตาม

                       ตางก็ใหผลผลิตเฉลี่ยตอไรสูง จึงเห็นวาควรปลูกขาวนาปรังในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง

                       โดยเรงถายทอดเทคโนโลยีและความรูดานการจัดการและการใชปจจัยการผลิตอยางถูกตอง
                       เหมาะสมใหกับเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนการผลิต พรอมทั้งแกไขปญหาศัตรูขาว

                       ซึ่งเกษตรกรมีปญหานี้รอยละ 60.00 ปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณและพัฒนา

                       ระบบชลประทานรวมทั้งการจัดการน้ําในฤดูแลง ซึ่งเกษตรกรมีปญหาทั้ง 2 ดานนี้ รอยละ 32.22
                       ทั้งนี้เพื่อเปนการลดพื้นที่ปลูกขาวนาปรังในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมนอย ตามนโยบายลดพื้นที่

                       การผลิตขาวของกระทรวงเกษตรและสหกรณ เนื่องจากปญหาการขาดแคลนน้ําจากความแหงแลง

















                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112