Page 72 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 72

3-5








                       การจัดทําตารางคุณภาพที่ดิน
                              คุณภาพที่ดิน คือ คุณสมบัติของที่ดินมีผลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช คุณภาพ

                       ที่ดินประกอบดวย คุณสมบัติที่ดิน (Land  characteristic)  คือ ในดินแตละกลุมชุดดินมีลักษณะและ

                       คุณสมบัติแตกตางกันไป จากการศึกษาคุณลักษณะที่ดินของกลุมชุดดินตางๆ ทั้ง 62 กลุมชุดดินที่
                       ไดกลาวมาแลว สามารถแจกแจงคุณภาพที่ดินที่สําคัญๆ เพื่อนํามาจัดความเหมาะสมของที่ดิน

                       ดังตารางที่ 3-2


                       3.3  การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน



                                การจัดทําเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน
                       จําเปนตองอาศัย  ขอมูลดานตางๆ  เพื่อนํามาวิเคราะหใหไดเขตการใชที่ดินที่เหมาะสมที่สุด

                       การประเมินความ  เหมาะสมทางกายภาพของกลุมชุดดิน  เปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญอยางหนึ่ง

                       ที่ชี้ใหเห็นถึงศักยภาพของกลุมชุดดินตอการปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน

                                การประเมินความเหมาะสมทางกายภาพ นําหลักการของ FAO Framework (1983) มาใช ใน

                       การประเมินเชิงกายภาพ วากลุมชุดดินใดมีความเหมาะสมมากหรือนอยเพียงใดตอการปลูกถั่วเหลือง
                       ฤดูแลงชั้นความเหมาะสมทางกายภาพจะนําไปประกอบกับขอมูลดาน  เศรษฐกิจ  เพื่อจัดทําเขต

                       การใชที่ดินตอไป  ในการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพจะเปรียบเทียบคุณภาพที่ดินหรือ

                       คุณสมบัติของกลุมชุดดินกับความตองการดานพืช  ความตองการดานการจัดการ  และความตองการ

                       ดานการอนุรักษ โดยทําการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพในชวงฤดูแลงในเขตชลประทาน และ
                       จําแนกชั้นความเหมาะสมทางกายภาพออกเปน 4 ชั้น คือ

                                S 1 : ชั้นความเหมาะสมสูง          S 2 : ชั้นความเหมาะสมปานกลาง

                                S 3 : ชั้นความเหมาะสมเล็กนอย     N    : ไมมีความเหมาะสม

                               นอกจากนี้ในแตละชั้นความเหมาะสมยังแบงออกเปนชั้นยอย (Subclass)  ซึ่งเปน
                       ขอจํากัดของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตของพืช ในที่นี้ไดแสดงความ

                       เหมาะสมของที่ดินแคระดับชั้นหลัก (Class) การจําแนกความเหมาะสมของที่ดินสําหรับ

                       พืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลง จะเปนการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินโดยพิจารณาจากปจจัย
                       ที่เกี่ยวของกับสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดิน ซึ่งจากการประเมินความเหมาะสมของที่ดิน

                       สําหรับพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลง โดยใชปจจัยดังกลาวไดแสดงไว ดังตารางที่ 3-3  ซึ่งจะนําไปใช

                       ในการพิจารณากําหนดเขตการใชที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน
                       ตอไป







                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77