Page 34 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 34

2-21








                       ศักยภาพในการใชประโยชนที่ดินคลายคลึงกันมารวมอยูดวยกัน สามารถจําแนกออกได 62 กลุมชุดดิน
                       นอกจากนี้ยังไดแบงกลุมชุดดินออกเปนกลุมชุดดินยอย  โดยใชลักษณะและสมบัติตางๆ ของดิน

                       หรือสภาพแวดลอมที่เปนขอจํากัดหรือมีผลกระทบตอการใชประโยชนที่ดิน  การเจริญเติบโตและ

                       ผลผลิตของพืช
                                ลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินที่นํามาใชแบงกลุมชุดดิน ไดแก ความชื้นในดิน เนื้อดิน

                       ปฏิกิริยาดิน การระบายน้ําของดิน ความลึกของดินถึงชั้นที่มีกอนกรวด เศษหินมาก ชั้นปูนหรือมารล

                       และชั้นหินพื้น วัตถุกําเนิดดิน การใชประโยชนที่ดิน และความลาดชันของพื้นที่ เปนตน สวนลักษณะ
                       และสมบัติตางๆ  ของดินหรือสภาพแวดลอมที่นํามาใชแบงกลุมชุดดินออกเปนกลุมชุดดินยอย

                       ไดแก  ชั้นความลาดชันของพื้นที่  สภาพการใชประโยชนที่ดิน  อันตรายจากการถูกน้ําทวม

                       ความเปนกรดจัดรุนแรงของดิน การมีคราบเกลือ ปรากฏอยูบนผิวดินและลักษณะอื่นๆ ที่คาดวามีผล
                       ตอการใช ประโยชนที่ดิน

                                กลุมชุดดินทั้ง 62 กลุมชุดดินที่มีในประเทศไทย พบวา สําหรับกลุมชุดดินที่พบในการ

                       ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงนั้น สามารถแบงตามสภาพพื้นที่ไดเปน 2 พวก คือ กลุมชุดดินที่พบในพื้นที่

                       ลุมและกลุมชุดดินที่พบบนพื้นที่ดอน
                                1) กลุมชุดดินที่พบในพื้นที่ลุมเปนกลุมชุดดินที่มีน้ําแชขังหรือมีระดับน้ําใตดินตื้น

                       ทําใหดินมีการระบายน้ําเลวมากถึงคอนขางเลว ไดแก

                                   1.1) กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียว ไดแก กลุมชุดดินที่ 1  2  3  4  5  6 และ 7

                                   1.2)  กลุมชุดดินที่เปนดินทรายแปง ไดแก กลุมชุดดินที่ 15 และ 16
                                   1.3)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนละเอียด ไดแก กลุมชุดดินที่ 17 18 และ 59

                                   1.4)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหยาบ ไดแก กลุมชุดดินที่ 19  21 และ 22

                                   1.5) กลุมชุดดินที่เปนดินเค็ม ไดแก กลุมชุดดินที่ 20
                                   1.6) กลุมชุดดินที่เปนดินทราย ไดแก กลุมชุดดินที่ 23 และ 24

                                   1.7) กลุมชุดดินที่เปนดินตื้น ไดแก กลุมชุดดินที่ 25

                                 2) กลุมชุดดินที่พบบนพื้นที่ดอน  เปนกลุมดินที่ไมมีน้ําแชขังและมีระดับน้ําใตดินลึก
                       ทําใหดินมีการระบายน้ําคอนขางดีถึงการระบายคอนขางมาก  และสวนใหญเปนกลุมชุดดินที่พบ

                       ในเขตที่มีความชื้นในดินนอย (ustic soil moisture regime) ไดแก

                                  2.1)  กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียว ไดแก กลุมชุดดินที่ 28 29 และ 31
                                   2.2)  กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวและพบในพื้นที่สูง ไดแก กลุมชุดดินที่ 30

                                   2.3)  กลุมชุดดินที่พบบริเวณสองฝงริมแมน้ํา ไดแก กลุมชุดดินที่ 33 และ 38

                                   2.4)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนละเอียด ไดแก กลุมชุดดินที่ 35 36 และ 60


                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39