Page 39 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 39

2-26








               แตมีการใหน้ํา ปญหาเรื่องคุณภาพของเมล็ดจึงไมเกิดขึ้น ถั่วเหลืองที่ผลิตในฤดูแลงนี้มีปริมาณเทากับ
               50 เปอรเซ็นต ของถั่วเหลืองที่ผลิตของประเทศตอป

                         ระบบการผลิตถั่วเหลืองในประเทศไทยที่สามารถปลูกถั่วเหลือง 3 ครั้งตอปนั้น นับวา

               เปนผลดีและกอใหเกิดประโยชนในการปลูกถั่วเหลืองและในการคาเมล็ดพันธุและผลผลิตถั่วเหลือง
               เปนอยางยิ่ง  จะเห็นไดวา  ถั่วเหลืองที่ไดจากการปลูกในชวงปลายฝน  ซึ่งสวนใหญนิยมในเขต

               ภาคเหนือตอนลาง  จะถูกใชเปนเมล็ดพันธุสําหรับการปลูกในฤดูแลง  และเมื่อถั่วเหลืองที่เพิ่งจะ

               เก็บเกี่ยวใหมๆ ในเดือนพฤศจิกายน ถูกใชปลูกเปนเมล็ดพันธุในเดือนมกราคม ดังนั้น คุณภาพของ
               เมล็ดพันธุจึงอยูในระดับสูง และเกษตรกรก็สามารถขายถั่วเหลืองดังกลาวเปนเมล็ดพันธุในราคาสูง

               ในขณะเดียวกันเกษตรกรผูปลูกถั่วเหลืองในฤดูแลงก็สามารถที่จะขายถั่วเหลืองของตนเปน

               เมล็ดพันธุใหกับเกษตรกรที่จะปลูกถั่วเหลืองในตนฤดูฝน  การปลูกถั่วเหลือง 3  ครั้งตอป
               ในระบบดังกลาว  จึงเปนการชวยแกปญหาการลดคุณภาพของเมล็ดพันธุถั่วเหลืองไดเปนอยางดี

               สําหรับการเตรียมดินและการปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง โดยทั่วไปมีดังนี้

                         1) การปลูกถั่วเหลืองโดยไมเตรียมดิน แตใชฟางคลุม (mulching)

                            ในสภาพการณปจจุบัน ที่จําเปนจะตองมีการอนุรักษสิ่งแวดลอม การเผาฟาง เผาตอซัง
               ในการปลูกถั่วเหลืองหลังนา ถูกมองวาเปนวิธีการปฏิบัติที่ทําลายสภาพแวดลอม เชน ทําลายฟาง

               ซึ่งถูกนําไปใชประโยชนอยางอื่นได  เชน  การนําไปเลี้ยงปศุสัตวในฤดูแลง  การนําไปเพาะเห็ด

               หรือการนําไปใชเปนวัสดุในการปลูกพืชอื่นๆ  นอกจากนี้  การเผาฟางยังถูกนับวาเปนการทําลาย

               อินทรียวัตถุ  ซึ่งนาจะเปนประโยชนกับดินที่ใชในการปลูกถั่วเหลืองตอไปในอนาคต  ประกอบกับ
               การควบคุมวัชพืช  โดยเฉพาะอยางยิ่งตอซังขาวที่อาจจะมีลูกขาวงอกออกมาหลังจากมีการใหน้ํา

               สามารถควบคุมไดโดยสารเคมีกําจัดวัชพืชบางตัวแทนที่จะใชวิธีการเผาตอซัง เชน ในการปฏิบัติ

               แตดั้งเดิม
                            นักวิชาการเกษตรในปจจุบันไดแนะนําเกษตรกรไมใหเผาฟางและเผาตอซัง

               แตในทางตรงขามนําฟางมาคลุมใหทั่วแปลงหลังจากปลูกถั่วเหลืองเสร็จเรียบรอยแลว  พบวา

               สามารถชวยรักษาความชื้นของดินไว  ซึ่งเปนวิธีการที่เหมาะสมอยางยิ่งในสภาวะวิกฤติที่มีน้ํานอย
               หรือขาดแคลนน้ํา นอกจากนี้ยังชวยลดปญหาเกี่ยวกับวัชพืชในแปลงถั่วเหลือง และชวยปรับ

               โครงสรางของดิน  ภายหลังที่ไดมีการยอยสลายของฟางที่ใชคลุม จะเปนการเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ

               ลงในดินหลังจากเก็บเกี่ยว  ถั่วเหลือง ทําใหเกิดผลดีตอพืชที่ปลูกตามมา
                            การปลูกถั่วเหลืองโดยการคลุมฟางและไมเผาฟางใหผลผลิตไมแตกตางจากการ

               คลุมฟางเผาตอซัง ในขณะเดียวกันการคลุมฟางก็เปนวิธีการที่ลดการระบาดของวัชพืชในแปลงไดดีกวา

               การเผาฟางและเผาตอซัง


               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44