Page 33 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 33

2-20








                         4) สภาพดินอัดตัวแนน
                            สภาพแปลงนาขาว โดยเฉพาะในฤดูแลงหลังเก็บเกี่ยวขาว เปนลักษณะดินที่อัดตัวกันแนน

               และระบายน้ํายาก  ซึ่งเปนผลมาจากการเตรียมดินสําหรับการทํานาหรือที่เรียกวา  การทําเทือก

               ซึ่งเปนวิธีการไถเตรียมดินในสภาพที่ดินอิ่มตัวดวยน้ํา (saturation)  มีประโยชนสําหรับการปกดํา
               ชวยลดอัตราการไหลซึมลึกของน้ําลงสูใตดิน (percolation rate)  และเพิ่มประสิทธิภาพการใชปุย

               ในขณะที่การทวมขังของน้ําในนาชวยสงวนรักษาน้ําในดินสําหรับขาว ชวยเพิ่มความเปนประโยชน

               ของธาตุอาหารในดิน ชวยควบคุมวัชพืชและเพิ่มผลผลิตของขาว
                            ในทางตรงกันขาม  การทําเทือกจะเปนการทําใหดินมีการแตกตัวจากเม็ดดิน

               (soil aggregated) เปนอนุภาคดิน (particles) เพื่อเพิ่มคาความหนาแนนรวมของดิน ซึ่งอยูระหวาง

               1.6-2.0  กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร โดยทั่วไปพืชไรเจริญเติบโตไดดีในสภาพดินที่มีคาความหนาแนน
               รวมของดินไมเกิน 1.5 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร

                            ในขณะที่ถั่วเหลืองจะชอบลักษณะดินที่โปรงและระบายน้ําดี โดยทั่วไปการปลูกพืชไร

               มักมีการไถพรวนดินเพื่อใหดินโปรงรวนซุย กําจัดวัชพืช กลบทับตอซังเพื่อใหสลายตัวใหธาตุอาหาร

               แกพืชและสามารถชวยปรับปรุงการถายเทอากาศในดินไดดีขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถชวยใหดิน
               มีลักษณะทางกายภาพที่ดี เหมาะสําหรับการงอกและการเจริญเติบโต แตการไถพรวนมีขอเสีย คือ

               ทําใหดินสูญเสียความชื้นเร็วขึ้น และทําลายโครงสรางของดิน ทําใหดินอัดตัวกันแนน เนื่องจากการ

               ใชเครื่องมือหนักในการไถพรวน แตอยางไรก็ตามการไมไถพรวนก็มีขอเสียเชนกัน คือ มีการสูญเสีย

               ไนโตรเจนลงสูระดับลึกสูง  และการควบคุมวัชพืชตองมีประสิทธิภาพ  ดังนั้น  จึงเห็นวาวิธีการ
               จัดการในสภาพนาเปนปจจัยที่สําคัญมากสําหรับการปลูกพืชไรในสภาพนาขาว  โดยเฉพาะหลัง

               เก็บเกี่ยวขาว


               2.3  ทรัพยากรดิน



                    2.3.1 ทรัพยากรดิน

                         ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญตอมวลชีวิตทั้งในดานการดํารงชีพและ

               ความมั่งคั่งของมนุษยตลอดทั้งความคงอยูของระบบนิเวศทั้งหลาย เปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด
               เสื่อมโทรมไดงาย  และมีความแปรผันไปตามลักษณะพื้นที่  สภาพภูมิอากาศ  วัตถุกําเนิดดิน

               สิ่งมีชีวิตและระยะเวลาในการพัฒนาการเกิดของดิน  ทําใหดินในแตละแหงมีความเหมาะสมตอ

               การใชประโยชนที่แตกตางกัน ดังนั้น เพื่อความเขาใจตอทรัพยากรดินไดงายขึ้น กรมพัฒนาที่ดิน
               ไดจัดทําแผนที่ความเหมาะสมของดินสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจระดับจังหวัด ขนาดมาตราสวน

               1:50,000 ขึ้นมาทั่วประเทศในรูปของกลุมชุดดิน ซึ่งเปนการรวมลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินที่มี

               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38