Page 29 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 29

2-16








                    2.2.4  ปจจัยทางสภาพภูมิอากาศ
                         ปจจัยทางสภาพภูมิอากาศ  นับวาเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดปจจัยหนึ่งในการเจริญเติบโต

               ของถั่วเหลือง  และเปนปจจัยที่มนุษยไมสามารถควบคุมได  เชน  อุณหภูมิ  แสงแดด  กระแสลม

               ปริมาณน้ําฝน  ซึ่งปจจัยดังกลาวนับวามีสวนที่สําคัญสําหรับการเจริญเติบโตและสรางผลผลิต
               ของถั่วเหลืองอยางมาก ปจจัยที่สําคัญ คือ ความยาวชวงแสง ความเขมของแสง และอุณหภูมิ มี

               รายละเอียดดังนี้


                         1) ความยาวชวงแสง
                            ชวงแสงเปนปจจัยหนึ่งของสภาพภูมิอากาศที่มีอิทธิพลตอการออกดอกของถั่วเหลือง

               ซึ่งจัดเปนพืชวันสั้น (short day plant) คือ ถั่วเหลืองจะออกดอกตามปกติเมื่อไดรับชวงแสง

               วันสั้นนอยกวาจุดวิกฤติ (critical day length)โดยจะมีความแตกตางกันไปขึ้นอยูกับแตละพันธุ
               ถาหากถั่วเหลืองมีการออกดอกลาชาเกินไปอาจเกิดผลเสียขึ้น คือ ทําใหพืชมีการเจริญเติบโตทางลําตน

               มากเกินไป ตนไมแข็งแรงและหักลมงาย นอกจากชวงแสงจะมีอิทธิพลตอชวงระยะกอนการออกดอก

               แลว ยังมีผลตอชวงระยะหลังการออกดอกอีกดวย โดยชวงแสงในชวงระยะหลังออกดอกมีผลกระทบ

               ตอชวงเวลาการออกดอก  อัตราการสรางดอก  อัตราการสรางเมล็ด  และชวงเวลาการพัฒนาใน
               ระยะเจริญพันธุ

                            ในชวงระยะกอนการออกดอก ชวงแสงจะไปชักนําใหมีการเปลี่ยนตา (bud)

               จากการเจริญเติบโตทางลําตนเปนตาดอกและพัฒนาเปนดอกตอไป ถั่วเหลืองที่เจริญเติบโตภายใต
               สภาพชวงแสงวันสั้น (นอยกวา 14 ชั่วโมง) จะมีการออกดอกเร็วเกินไป ทําใหมีการเจริญเติบโต

               ทางลําตนนอยสงผลใหผลผลิตและความสูงของตนลดลง  ทําใหตนถั่วเหลืองไมเหมาะสมสําหรับ

               การใชเครื่องมือเก็บเกี่ยว  พันธุถั่วเหลืองที่ปลูกในประเทศไทยซึ่งมีความยาวชวงแสงสั้นมี
               อายุการออกดอกที่เร็วเกินไป ทําใหมีการเจริญเติบโตทางลําตนนอย เชน ความสูง จํานวนขอ จํานวนกิ่ง

               และจํานวนใบ มีผลใหผลผลิตคอนขางต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับพันธุถั่วเหลืองที่ปลูกในเขตหนาว

                         2) ความเขมของแสง

                            ความเขมของแสงที่สองลงมายังตนพืชมีความแตกตางกันไปตามสภาพแวดลอม

               ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับหลายปจจัยที่เปนตัวจํากัด เชน ฤดูกาล มุมสองสวางของดวงอาทิตย ความสูงของพื้นที่

               เสนรุงและการบังแสง  ความเขมแสงมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาของถั่วเหลือง เมื่อ
               เพิ่มความเขมแสงใหสูงขึ้น  จะทําใหอัตราการสังเคราะหแสงเพิ่มขึ้น  สงผลใหน้ําหนักแหงและ

               ผลผลิตเพิ่มขึ้นตามไปดวย  การปลูกถั่วเหลืองโดยทั่วไป ความเขมแสงจัดวาเปนปจจัยของสภาพ

               ภูมิอากาศที่คอนขางจํากัด ซึ่งเปนผลมาจากปจจัยที่เปนตัวจํากัดดังที่ไดกลาวมาแลว ทําใหถั่วเหลือง



               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34