Page 31 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 31

2-18








               ชนิดอื่นได เพื่อเปนการใชพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถชวยเพิ่มรายไดใหแกครอบครัวและ
               ยังชวยปรับปรุงสภาพความอุดมสมบูรณใหดีขึ้น โดยเฉพาะการปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับการทํานา

               ในฤดูแลงที่มีน้ํานอย  สําหรับพืชที่เหมาะสมในการปลูกในนาขาวมีอยูดวยกันหลายชนิด  คือ

               ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วพุม ถั่วแดง ถั่วฝกยาว ขาวโพดหวาน และขาวโพดฝกออน งา  มันเทศ
               แตง  และพืชผักอื่นๆ  ถั่วเหลืองนับวาเปนพืชไรตระกูลถั่วที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่ง

               เกษตรกรสวนใหญนิยมปลูกในฤดูแลงหลังเก็บเกี่ยวขาวมาชานาน  โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือ

               ซึ่งเปนแหลงปลูกถั่วเหลืองแหลงใหญของประเทศ  แตในขณะเดียวกันสภาพแวดลอมในชวงฤดูแลง
               หลังเก็บเกี่ยวขาวในเขตชลประทาน มีความแตกตางจากชวงเวลาปลูกในฤดูฝนอยางชัดเจน

                         สภาพแวดลอมหลังการทํานาชวงเวลาตั้งแตหลังเก็บเกี่ยวขาว  ประมาณเดือนพฤศจิกายน

               หรือธันวาคม  จนกระทั่งถึงกอนฝนแรก  ประมาณเดือนเมษายน  ซึ่งใชเวลาประมาณ 100-120  วัน
               ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชวงเวลาการเก็บเกี่ยวขาวเร็วหรือชาเปนหลัก ซึ่งการเก็บเกี่ยวขาวเร็วหรือชาขึ้นอยูกับ

               พันธุขาวที่ใชวาเปนพันธุเบาหรือพันธุหนัก พันธุไวแสงหรือไมไวแสง ตลอดจนชนิดของนาขาววา

               เปนนาชลประทานหรือนาน้ําฝน นอกจากนี้ การปลูกพืชไรในสภาพหลังการทํานาอาจจะจําเปนตองมี

               การใหน้ําชลประทานหรืออาศัยความชื้นในดินที่หลงเหลืออยูหลังเก็บเกี่ยวขาว ระบบการปลูก
               ถั่วเหลืองหลังการทํานา สวนใหญนิยมปฏิบัติในพื้นที่นาในเขตชลประทาน เนื่องจากมีปริมาณน้ํา

               เพียงพอสําหรับพืชไร โดยเฉพาะการปลูกเพื่อทดแทนการทํานาปรัง ในกรณีที่เกิดปญหาการขาดแคลน

               น้ําชลประทานสําหรับการทํานาปรัง โดยเกษตรกรนิยมปลูกถั่วเหลืองในฤดูแลงหลังเก็บเกี่ยวขาว

               ในเขตชลประทาน ซึ่งเกษตรกรสวนใหญเริ่มปลูกในชวงเดือนธันวาคม-มกราคม และเก็บเกี่ยวผลผลิต
               ในชวงเดือนมีนาคม-เมษายน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับพันธุขาวที่ใชปลูกดวย

                         ขอจํากัดทางดานสภาพแวดลอมสําหรับการปลูกพืชไร  โดยเฉพาะถั่วเหลืองฤดูแลง

               หลังการทํานาเขตชลประทาน มีดังนี้คือ

                         1) ชวงแสงวันสั้น

                            ในการปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงหลังการทํานา  ชวงแสงนับวาเปนปจจัยที่เกี่ยวของกับ
               การเจริญเติบโตและพัฒนาการของถั่วเหลือง โดยเฉพาะมีผลตอการควบคุมพัฒนาการไปสูการออกดอก

               ซึ่งชวงแสงมีการเปลี่ยนแปลงในรอบปแตกตางกันไปขึ้นอยูกับเสนละติจูด โดยเฉพาะประเทศ

               ที่ตั้งอยูในเสนละติจูดที่สูง จะมีความแตกตางระหวางกลางวันและกลางคืนมาก สวนในประเทศ
               ที่ตั้งอยูในเสนศูนยสูตร มีการเปลี่ยนแปลงของชวงแสงไมมาก ระหวางกลางวันกับกลางคืน โดย

               ประเทศไทยมีวันยาวมากที่สุด อยูประมาณปลายเดือนมิถุนายน ประมาณ 13 ชั่วโมง และวันสั้น

               ที่สุดอยูประมาณเดือนธันวาคม  ประมาณ 11  ชั่วโมง  ซึ่งอยูในชวงหลังการทํานา  ดังนั้นพืชไรที่

               ตอบสนองตอชวงแสงซึ่งสวนใหญ พบมากในพืชตระกูลถั่ว เชน ถั่วเขียว ถั่วเขียวผิวดํา และถั่วอื่นๆ

               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36