Page 30 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 30

2-17








                       ไดรับแสงไมเพียงพอสําหรับขบวนการสังเคราะหแสง  ซึ่งผลที่ตามมาคือการเจริญเติบโตและ
                       ผลผลิตลดลง


                                 3) อุณหภูมิ
                                   อุณหภูมิมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและการสรางผลผลิตของถั่วเหลือง ซึ่งมีผลกระทบ

                       ตอขบวนการทางสรีรวิทยา  ขบวนการตรึงไนโตรเจน  ปริมาณโปรตีนและน้ํามันในเมล็ด  ผลผลิต

                       และคุณภาพ  ตลอดจนการเกิดโรคและแมลงศัตรูพืช  ถั่วเหลืองจัดเปนพืชที่สามารถเจริญเติบโตได
                       ในชวงอุณหภูมิที่คอนขางกวาง คือ ระหวาง 5 ถึง 40 องศาเซลเซียส แตอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับ

                       การเจริญเติบโตของถั่วเหลืองอยูระหวาง 25-30 องศาเซลเซียส ดังนั้น ถาอุณหภูมิสูงหรือต่ํากวา

                       ชวงอุณหภูมิที่เหมาะสม  ยอมมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตและพัฒนาของถั่วเหลือง โดยเฉพาะ

                       ชวงระยะการเจริญพันธุ
                                   การเจริญเติบโตและพัฒนาการของถั่วเหลือง จะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับพันธุกรรม

                       และสภาพแวดลอม  อุณหภูมิเปนปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญตอการเจริญเติบโตของถั่วเหลือง

                       โดยเฉพาะในระยะแรกของการเจริญเติบโต ในสภาพอุณหภูมิต่ํามีผลกระทบตอขบวนการออกดอก
                       สรางฝก การเคลื่อนยายคารโบไฮเดรท และขบวนการสังเคราะหแสงของถั่วเหลือง อุณหภูมิมีผลตอ

                       ขบวนการออกดอกของถั่วเหลือง โดยในสภาพอุณหภูมิต่ําประมาณ 10 องศาเซลเซียส จะทําใหเกิด

                       การยับยั้งการสรางตาดอกในถั่วเหลือง อุณหภูมิมีผลตอการเจริญเติบโตและการสรางผลผลิตของ

                       ถั่วเหลืองในระยะหลังออกดอก โดยเฉพาะอิทธิพลของอุณหภูมิในเวลากลางคืน  เมื่อถั่วเหลือง
                       ไดรับอุณหภูมิกลางคืนต่ําประมาณ 5-9  องศาเซลเซียส ในชวงระยะหลังการออกดอก จะทําให

                       อัตราการสังเคราะหแสงของใบลดลงอยางมาก  ในสภาพที่มีอุณหภูมิสูงในชวงระยะการเจริญ

                       พันธุกอนจะถึงระยะสุกแกประมาณ 20-40  วัน  มีความสําคัญอยางยิ่งตอการเพิ่มปริมาณน้ํามันใน
                       เมล็ด นอกจากนี้ ยังมีเปอรเซ็นตเมล็ดเล็กเพิ่มขึ้นและน้ําหนักเมล็ดลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น



                           2.2.5 สภาพแวดลอมในเขตชลประทาน

                                เนื่องจากพื้นที่ทําการเกษตรของประเทศไทยสวนใหญเปนพื้นที่ราบลุม  เกษตรกรจึง

                       ประกอบอาชีพการทํานาเปนหลัก โดยเฉพาะเกษตรกรในเขตชลประทานที่นิยมปลูกขาวตลอดทั้งป

                       ประมาณ 3-4  ครั้ง  ซึ่งมักประสบปญหาราคาขาวตกต่ําประกอบกับคุณภาพขาวนาปรังไมดี
                       นอกจากนี้ยังทําใหเกิดการระบาดของแมลงอยางรุนแรง โดยเฉพาะเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล

                       ทําความเสียหายแกนาขาวอยางมาก ในขณะเดียวกันในพื้นที่นาบางแหง ที่มีบอน้ําตื้นหรือ

                       บอน้ําบาดาลขนาดเล็กหรือแหลงน้ําขนาดเล็ก เชน บึง หนองและฝายน้ําลน เปนตน ซึ่งสามารถนํา
                       น้ํามาใชประโยชนไดในการปลูกพืชในชวงหลังเกี่ยวขาว ซึ่งเปนชวงเวลาที่เพียงพอสําหรับปลูกพืช


                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35