Page 38 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 38

2-25








                       ตารางที่ 2-8 (ตอ)


                        กลุมชุดดิน                       ลักษณะเดนประจํากลุมชุดดิน

                                  กลุมดินลึกปานกลาง
                           50      - ดินรวนลึกปานกลางถึงเศษหิน กอนหินหรือชั้นหินพื้น
                           53      - ดินเหนียวลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น ลูกรังหรือเศษหิน

                                  4. กลุมชุดดินที่มีความลาดชันสูง
                           62      - พื้นที่ลาดชันเชิงซอนที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต


                       ที่มา : สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน (2548)

                                   2.5)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหยาบ ไดแก กลุมชุดดินที่ 40
                                   2.6)  กลุมชุดดินที่เปนดินทรายหนา ไดแก กลุมชุดดินที่ 41 และ 44

                                   2.7)  กลุมชุดดินที่เปนดินลึกปานกลาง ไดแก กลุมชุดดินที่ 37 55 และ 56

                                   2.8)  กลุมชุดดินที่เปนดินตื้นถึงชั้นลูกรัง กอนกรวดหรือเศษหิน ไดแก กลุมชุดดินที่ 47
                       48 และ 49

                                   2.9)  กลุมชุดดินที่มีชั้นปูนภายในความลึก 100 เซนติเมตร ไดแก กลุมชุดดินที่ 52

                       และ 54

                                สําหรับลักษณะเดนประจํากลุมชุดดิน ที่จัดหมวดหมูทั้ง 62 กลุมชุดดินของประเทศไทย
                       ดังแสดงไวในตารางที่ 2-8


                           2.3.2 การจัดการดินสําหรับการปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง


                                ถั่วเหลืองสามารถปลูกไดในประเทศไทยอยู 2 ลักษณะ กลาวคือ การปลูกในฤดูฝนในที่ดอน

                       ซึ่งเปนการปลูกโดยอาศัยน้ําฝน อาจปลูกในตนฤดูกอนการปลูกขาวโพดหรือขาวฟาง หรือเปนการปลูก
                       ปลายฤดูฝนตามหลังพืชเหลานี้  นอกจากนั้น  ยังมีการปลูกในฤดูแลงในที่ลุมตามหลังการปลูกขาว

                       ซึ่งเปนการปลูกโดยอาศัยน้ําชลประทาน

                                โดยสรุป ถั่วเหลืองในประเทศไทย ปลูกได 3 ฤดูกาล คือ ตนฤดูฝน ปลายฤดูฝน และ

                       ฤดูแลง ซึ่งเกษตรกรในทองถิ่นตางๆ นิยมปลูกตามสภาพของฤดูกาลที่แตกตางกัน
                                สําหรับในฤดูแลง เกษตรกรในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย เชน ในจังหวัดเชียงใหม

                       นิยมปลูกถั่วเหลืองในระบบการปลูกพืชที่มีขาวเปนหลัก ในพื้นที่ที่มีการชลประทาน โดยปลูกขาว

                       ในฤดูฝนและถั่วเหลืองในฤดูแลง เกษตรกรจะปลูกถั่วเหลืองในเดือนธันวาคมและมกราคม และ
                       เก็บเกี่ยวในเดือนเมษายน ถั่วเหลืองที่ปลูกในฤดูแลงจัดเปนถั่วเหลืองเกรดที่หนึ่ง เพราะปลูกในฤดูแลง


                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43