Page 240 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 240

ผ-17








                                                  2. การสุมตัวอยาง (Sampling)


                              การสุมตัวอยาง หมายถึง กระบวนการจัดทําใหไดมาซึ่งกลุมตัวอยาง (Sampling)  ที่เปน

                       ตัวแทนประชากร (Population)  การสุมตัวอยางที่มีลักษณะเปนตัวแทนของประชากรได จะตอง

                       เลือกวิธีสุมตัวอยางที่เหมาะสมและกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางที่ใหญเพียงพอ
                              วิธีการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเปนการสุมตัวอยางแบบไมลําเอียง โดยอาศัยหลักความนาจะ

                       เปน (Probability  sampling)  การกําหนดขนาดกลุมตัวอยางที่ใหญเพียงพอ สามารถดําเนินการได

                       โดยใชสูตรคํานวณขนาดของกลุมตัวอยางที่เหมาะสมหรือใชตารางสําเร็จรูป

                       2.1  วิธีการสุมตัวอยางที่เหมาะสมกับงานกําหนดเขตปลูกพืชเศรษฐกิจ


                              2.1.1  วิธีการสุมตัวอยางประชากรแบบที่มีประชากรที่อยูรวมกันเปนกลุมๆ (Cluster) โดย
                       แตละกลุมมีลักษณะในกลุมที่หลากหลายหรือมีความแตกตางในทํานองเดียวกัน ระหวางกลุมมี

                       ความคลายกัน เรียกวา วิธีการสุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster sampling) ถาการจัดกลุมของประชากร

                       เปนกลุมยอย โดยใชสภาพทางภูมิศาสตร (Geographic  subdivision)  เปนหลัก จะเรียกวา Area

                       sampling
                              2.1.2  วิธีการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified random sampling) เปนการสุมตัวอยาง

                       ประชากรแบบจัดประชากรเปนพวกหรือชั้น (Stratum) โดยยึดหลักใหพวกของประชากรมีลักษณะ

                       ภายในคลายกันหรือเปนเอกพันธ (Homogeneous) มากที่สุด แตจะแตกตางกันระหวางชั้นมากที่สุด
                       จากนั้นจึงทําการสุมจากแตละชั้นมาทําการศึกษา โดยใชสัดสวนของกลุมตัวอยางประชากรที่สุม

                       ขึ้นมาเทากันหรือไมเทากันก็ไดขึ้นอยูกับความเหมาะสม

                              2.1.3  วิธีสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling)  เปนการสุมตัวอยาง

                       ประชากรโดยแบงประชากรออกเปนลําดับชั้นตางๆ แบบลดหลั่น เชน ภาค จังหวัด อําเภอ ตําบล
                       หมูบาน เปนตน โดยทําการสุมประชากรจากหนวยลําดับชั้นที่ใหญกอน แลวทําการสุมหนวยที่มี

                       ลําดับรองลงไปทีละขั้นจนถึงกลุมตัวอยางที่ตองการ


                       2.2  ขนาดของกลุมตัวอยาง


                              การหาขนาดของกลุมตัวอยางเปนการกําหนดจํานวนตัวอยางที่จะตองเก็บมาวิเคราะห
                       เพื่อใหไดคาตัวแทนประชากร การกําหนดจํานวนตัวอยางที่เหมาะสม จะทําใหสามารถวางแผนการ

                       ดําเนินงานไดอยางเหมาะสมและประหยัดคาใชจาย  โดยผลที่ไดจะมีความนาเชื่อถือและยอมรับได

                       ตามหลักสถิติ วิธีการหาขนาดของกลุมตัวอยางที่นิยมมี 2 วิธีดวยกันคือ






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245