Page 43 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           32







                       ท่วมขังลักษณะดินที่เหมาะสม มันส าปะหลังสามารถปลูกได้ในพื นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เจริญเติบโต
                       ได้ดีในดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย การระบายน  าดี ปลูกได้ในสภาพที่มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมากถึง
                       ด่างปานกลาง (pH 4.0-8.4) และไม่เป็นดินเค็ม สภาพภูมิอากาศ มันส าปะหลังเป็นพืชที่ปลูกในเขตร้อน
                       ตั งแต่เส้นรุ้งที่ 30 องศาใต้ถึงเส้นรุ้งที่ 30 องศาเหนือ ในเขตหนาวหรือเขตอบอุ่นที่มีอุณหภูมิเย็นจัดมัน

                       ส าปะหลังไม่สามารถขึ นได้ มันส าปะหลังสามารถเจริญเติบโตได้ในพื นที่บางแห่งที่มีปริมาณน  าฝนต่อปี
                       น้อยกว่า 1,000 มิลลิเมตร แต่ถ้าเป็นบริเวณที่ฝนตกน้อยกว่า 500 มิลลิเมตรต่อปี ไม่สามารถปลูกมัน
                       ส าปะหลังได้ สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมที่สุดมีปริมาณน  าฝนเฉลี่ยปีละ 1,200-1,500 มิลลิเมตร อุณหภูมิ
                       เฉลี่ย 25-29 องศาเซลเซียส เป็นพืชวันสั นต้องการช่วงแสงของวันยาว 12-14 ชั่วโมง ฤดูปลูก มัน

                       ส าปะหลังสามารถปลูกได้ตลอดทั งปี แต่เกษตรกรส่วนใหญ่จะปลูกช่วงต้นฤดูฝน (เดือนมีนาคมถึงเดือน
                       พฤษภาคม) ถึง 65 เปอร์เซ็นต์ และปลูกในช่วงปลายฤดูฝนหรือในฤดูแล้ง (เดือนพฤศจิกายนถึงเดือน
                       กุมภาพันธ์) ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่เหลือจะปลูกในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม การปลูก
                       ในช่วงต้นฤดูฝนให้ผลผลิตหัวสดสูงกว่าการปลูกในช่วงอื่นๆ แต่ถ้าเป็นดินทรายการปลูกในช่วงฤดูแล้งจะ

                       ให้ผลผลิตหัวสูงสุด (ปรารถนา และคณะ, 2560, กรมวิชาการเกษตร, 2563)
                                         2.2) ช่วงเวลาปลูก
                                             โดยทั่วไปช่วงเวลาปลูกที่หมาะสมมี 2 ช่วง (ตารางที 6) คือ การปลูกต้นฤดูฝน

                       โดยปลูกในช่วงเดือนเมษายน – มิถุนายน และปลูกปลายฤดูฝนโดยปลูกในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม
                       (ก่อนทีฝนจะหมด) การที่เกษตรกรสามารถเตรียมแปลงปลูกได้ทันในฤดูปลูกทั ง 2 ช่วงนี จะได้ผลผลิตสูง
                       กว่าปลูกในช่วงอื่นมันส าปะหลังที่ปลูกช่วงต้นฤดูฝนจะเจริญเติบโตสม่ าเสมอกว่ามันส าปะหลังที่ลูกปลาย
                       ฤดูฝน เนื่องจากการปลูกในปลายฤดูฝนมันส าปะหลังจะติดแล้งในช่วงแรกของการเจริญเติบโตมัน
                       ส าปะหลังที่ปลูกต้นฤดูฝนจะมีหัวขนาดเล็ก เรียวยาว มีจ านวนหัวมากเพราะหัวมันออกเป็นชั นๆ ส่วนมัน

                       ส าปะหลังทีปลูกปลายฤดูฝนจะมีหัวขนาดใหญ่ป้อม แต่ไม่ค่อยดก การปลูกในช่วงปลายฤดูฝนมีข้อดี คือ
                       สามารถลดค่าใช้จ่ายในการก าจัดวัชพืช และเป็นการอนุรักษ์ดินและป้องกันการพังทลายของดินจาก
                       อิทธิพลของเม็ดฝน และน  าไหลบ่า แต่การปลูกปลายฤดูฝน แนะน าให้ปลูกในพื นที่ดินทรายหรือดินร่วน

                       ปนทราย ไม่แนะน าให้ปลูกในพื นที่ดินค่อนข้างเหนียว ซึ่งเมื่อกระทบแล้งดินจะรัดตัวแน่นแข็งท าให้มัน
                       ส าปะหลังตายมาก
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48